Answer:
While Jesus very likely spoke Aramaic, Hebrew, and Greek, Aramaic was likely the language Jesus spoke the most. The Gospels record Jesus speaking numerous Aramaic words: talitha koum (Mark 5:41); ephphatha (Mark 7:34); eloi eloi lama sabachthani (Matthew 27:46; Mark 15:34); abba (Mark 14:36). Historians, archaeologists, and cultural anthropologists are almost universally agreed that Aramaic was the common/colloquial language in Israel during Jesus’ time. Aramaic was very similar to Hebrew, but with many words/phrases that were borrowed from other languages/cultures, especially Babylonian.
Hebrew was spoken primarily only by the scribes, teachers of the law, Pharisees, and Sadducees, the “religious elite.” Hebrew was likely often read in the synagogues, so most people were probably able to speak and understand some Hebrew. Since Greek was the language of the Romans, who had power over Israel during Jesus’ time, Greek was the language of the political class and anyone who wanted to do business with the Romans. Greek was the universal language at that time, so, the ability to speak Greek was a highly desirable skill. Some, however, refused to speak Greek out of resentment towards their Roman oppressors. When Jesus spoke with Pontius Pilate, it is possible that He spoke to him in Greek, although Pilate, as the governor, likely would have been able to speak Aramaic as well.
Jesus, as God incarnated in human form, could have spoken any language He chose to speak. In His humanity, Jesus likely limited Himself to the languages common to His culture: Aramaic, Hebrew, and Greek. Jesus likely spoke whichever of the three languages was most appropriate to the audience He was addressing.
---
http://www.gotquestions.org/language-Jesus-speak.html
ความยำเกรงพระยาห์เวห์เป็นจุดเริ่มต้นของความรู้ คนโง่ย่อมดูหมิ่นปัญญาและการสั่งสอน (สุภาษิต 1:7)
อย่าคิดว่าตนมีปัญญาจงยำเกรงพระยาห์เวห์ และจงหันจากความชั่วร้าย (สุภาษิต 3:5-7)
Did Jesus ever travel to India ?
The orthodox position is that Jesus grew up in Nazareth with His family until it was time to begin His ministry. While the Bible doesn't explicitly say this, it is implied from the following passage in the Gospel of Luke: “He went to Nazareth, where he had been brought up, and on the Sabbath day he went into the synagogue, as was His custom. And he stood up to read.... All spoke well of him and were amazed at the gracious words that came from His lips. ‘Isn't this Joseph's son?’ they asked. Jesus said to them, ‘Surely you will quote this proverb to me: “Physician, heal yourself! Do here in your hometown what we have heard that you did in Capernaum." I tell you the truth,’ he continued, ‘no prophet is accepted in his hometown’” (Luke 4:16, 22-24). Notice that Luke says that Jesus was "brought up" in Nazareth, and he also mentions twice that Nazareth was Jesus' hometown. Furthermore, the people in the synagogue knew Jesus and knew that he was Joseph's son. All of this leads to the conclusion that Jesus lived in relative obscurity in Nazareth until His baptism.
Despite this fairly clear account, there are those who want to fill in the gaps in Jesus' life with extraordinary tales of adventure and mystery. From apocryphal tales of Jesus' infancy in which He acts more like a malevolent trickster than the very Son of God, to the supposed tales of Jesus' journey to India to learn the secrets of Hinduism and Buddhism from Eastern gurus, there is no shortage of sources that claim to have “definitive proof” of Jesus' lost years. Depending on the source, Jesus either spent 17 years in India before His ministry in Palestine, or He spent the remainder of His life after surviving the crucifixion in India and died at the age of 120. These theories all seem to come from the identification of Jesus with the Kashmiri saint, Issa Yuz Asaf ("Jesus Son of Joseph").
The most recent author to promote this view is Holger Kersten, whose book Jesus Lived in India: His Unknown Life Before and After the Crucifixion (1994) supposedly presents "irrefutable evidence that Jesus did indeed live in India." Mr. Kersten is also the author of another “conspiracy” book called The Jesus Conspiracy, in which he asserts that the Roman Catholic Church fudged the carbon dating on the shroud of Turin to show a medieval date. Mr. Kersten argues that the shroud was the authentic burial cloth of Jesus, but that Jesus was alive following the crucifixion. The problem with most conspiracy theorists is that their books are long on conspiracy and short on evidence. Authors such as Mr. Kersten aren't taken seriously in biblical scholarship.
A precursor to Holger Kersten is Nicolas Notovitch, a Russian war correspondent, who visited India and Tibet in the late 19th century. While there, Mr. Notovitch learned of the life of Saint Issa, the "best of the Sons of men." Mr. Notovitch chronicles the life of Saint Issa, whom he identifies as Jesus, and tells how Saint Issa grew in wisdom and knowledge while attending the ancient Indian university at Nalanda. However, Mr. Notovitch's work was discredited by one J. Archibald Douglas, who claims that Mr. Notovitch never visited the monastery of Hemis (where he purportedly learned of Saint Issa).
We can argue and speculate on why these theories regarding Jesus abound, but the main thing to take away is that despite the origin of these theories, their ultimate source is the father of lies, Satan (John 8:44). As he did in the beginning, so he is doing now. At the baptism of Jesus, a voice from heaven proclaimed, “This is my Son, whom I love; with him I am well pleased” (Matthew 3:17). Jesus of Nazareth was declared by God the Father to be His one and only Son. All of these conspiracy theories attempt to divert us from God's declaration that Jesus was His Son. They do so by downplaying or denying outright the deity of Jesus Christ. By denying His divinity, they reduce Jesus to just another rabbi, prophet, sage or wise man. In the case of Mr. Kersten, he not only denies the deity and resurrection of Christ, but he claims that Jesus didn't even die on the cross. By denying the death and resurrection of Christ, he strikes at the very heart of the Christian faith; which, of course, is his intent.
The thing to keep in mind is despite the claims of conspiracy theorists, the four Gospels still provide the most accurate and compelling account of the life of Jesus in print. If Jesus went to India prior to His three-year ministry, then one would expect there to be a distinct Indian flavor to His teaching. However, how does one explain Jesus' vast knowledge of the Torah? Jesus quotes the Hebrew Scriptures all throughout His earthly ministry to the point of correcting even the learned scholars of His day. Not only that, but His teaching style was consistent with the Jewish itinerant teachers of His day. Scholars would study most of their lives to have the encyclopedic knowledge of Hebrew law and customs that Jesus had. Are we to believe that Jesus took the Old Testament with Him to India and studied the Scriptures between lessons on transcendental meditation?
Of course there are those who simply deny the authenticity of the four Gospels. How are we to respond? With the exception of John, all 12 apostles (including Paul and Matthias in the place of Judas) died martyr's deaths. Why would they do that for a lie? More importantly, why would they do that for something they knew to be a lie? The four Gospels have been under attack for nearly 2,000 years; in fact, no book has undergone as much scrutiny or endured so many attempts to extinguish it than the Bible, yet it is still here, still changing lives and still attesting to the truth of the good news of Jesus Christ. "The grass withers, the flower fades, but the word of our God will stand forever" (Isaiah 40:8).
--
http://www.gotquestions.org/Jesus-India.html
วันสะบาโตกับชีวิตคริสเตียนยุคปัจจุบัน
โดย ดร.ศิลป์ชัย เชาว์เจริญรัตน์
ในชีวิตทุกวันนี้ คริสเตียนควรถือปฏิบัติพระบัญญัติเรื่องวันสะบาโตอย่างไร? ปฏิบัติอย่างไรจึงจะถือว่าถูกต้อง หรือถือว่าไม่ผิด? ก่อนจะตอบคำถามนี้ได้เราต้องย้อนกลับไปดูที่มาของพระบัญญัติเรื่อง “สะบาโต” อีกครั้ง
พระบัญญัติข้อสี่ของพระบัญญัติสิบประการกำหนดให้ถือวันสะ บาโตเป็นวันบริสุทธิ์ที่ทุกคนในแผ่นดินอิสราเอลต้องหยุดพักจากการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นตัวเอง ลูก ทาส คนต่างด้าว ไปจนถึงสัตว์ใช้งานด้วย (อพย.20:8-11) คำว่า “สะบาโต” แปลว่าหยุด หรือ พัก วันสะบาโตถูกกำหนดว่าเป็นวันสุดท้ายของสัปดาห์ซึ่งตามที่นับกันทั่วไปก็คือ วันเสาร์ พระคัมภีร์บันทึกเหตุผลที่กำหนดเป็นวันดังกล่าวก็เนื่องจากว่าเป็นวันที่พระ เจ้าทรงหยุดจากการทรงสร้างเช่นกัน (ปฐก.2:1-3)
อย่างไรก็ตาม ยิวนับวันไม่เหมือนกับสังคมทั่วไป ยิวจะนับวันโดยเริ่มจากตะวันตกดินของเย็นวันศุกร์ไปจนถึงตะวันตกดินของอีก วัน ฉะนั้นวันสะบาโตจึงเริ่มนับจากราวหกโมงเย็นวันศุกร์ไปสิ้นสุดเอาที่ราวหกโมง เย็นของวันเสาร์ด้วย นั่นก็แปลว่า การหยุดพักงานก็ต้องหยุดพักตั้งแต่ศุกร์เย็นไปจนถึงเสาร์เย็นเช่นกัน
พระบัญญัติของพระเจ้าได้ลงรายละเอียดเกี่ยวกับการให้หยุดทำงานในวันสะบาโตไว้ อีกพอสมควร ได้แก่ ต้องหยุดออกจากที่พักเดินทางไปไหนไกล (อพย.16:29) หยุดก่อไฟเพื่อทำอาหารในที่พักอาศัย (อพย.35:2-3) อาหารที่จะรับประทานในวันสะบาโตต้องทำไว้ล่วงหน้าตั้งแต่ “วันเตรียม” คือวันก่อนสะบาโต (อพย.16:23; มธ.27:62; มก.15:42)
นอกจากนี้พระบัญญัติยังกำหนดให้มี “ปีสะบาโต” ด้วย ซึ่งก็มีไว้เพื่อการหยุดพักเช่นกัน พักทั้งคน พักทั้งสัตว์ใช้งาน และพักทั้งไร่นาด้วย (อพย.23:10-11) ผู้เขียนเชื่อว่าพระเจ้าทรงให้มีปีสะบาโตเพื่อเพือให้ที่ดินได้กลับสู่สมดุล เพื่อคืนสภาพความสมบูรณ์ตามธรรมชาติ
ทำไมต้องมีวันสะบาโต ?
หากพิจารณาให้ลึกลงไปว่า พระเจ้าทรงตั้งวันสะบาโตขึ้นมาทำไม? ในเรื่องนี้ ต้องดูในพระคัมภีร์ปฐมกาลบทที่ 2:1-3 ซึ่งใช้ถ้อยคำว่า “… พระเจ้าจึงทรงอวยพระพรแก่วันที่เจ็ด ทรงตั้งไว้เป็นวันบริสุทธิ์ศักดิ์สิทธิ์ เพราะในวันนั้นพระองค์ทรงหยุดพักจากการงานทั้งปวงที่พระองค์ทรงกระทำในการ เนรมิตสร้าง” ฉะนั้น จึงเชื่อว่าพระเจ้าทรงกำหนดวันสะบาโตเพื่อให้มนุษย์ระลึกถึงการที่พระเจ้า ทรงเป็นพระผู้สร้างสรรพสิ่ง
นอกจากเพื่อวัตถุประสงค์นี้แล้ว ในธรรมเนียมของชาวยิวยังระบุวัตถุวัตถุประสงค์ของสะบาโตอีก 2 ประการคือ เพื่อระลึกถึงการที่พระเจ้าทรงไถ่เขาจากการเป็นทาสในอียิปต์
เพื่อเป็นการลิ้มรสยุคสมัยที่พระเมสสิยาห์เสด็จมา ซึ่งชาวยิวเชื่อว่า พระเมสสิยาห์ (หรือมาซีฮา) จะเป็นกษัตริย์ในเชื้อวงศ์ของกษัตริย์ดาวิดในครั้งโบราณ และจะเก่งกล้าสามารถมากจนทำให้ชนชาติยิวกลับรุ่งเรืองยิ่งใหญ่ มีอาณาเขตกว้างขวางเหมือนยุคกษัตริย์ดาวิดอีกครั้ง และเป็นยุคที่โลกมีสันติภาพ
ด้วยวัตถุประสงค์ 3 ประการของสะบาโตที่ว่ามา ทำให้การหยุดพักวันสะบาโต ต้องไม่ใช่หยุดพักเฉยๆ หรือหยุดพักอย่างไร้เป้าหมาย แต่เป็นการ “หยุดพักเพื่อระลึกถึง” สิ่งที่พระเจ้าทรงกระทำเพื่อมนุษย์
นอกจากนี้ จากบริบทของสถานการณ์ที่พระเจ้าทรงประทานพระบัญญัตินี้ หลังจากที่พระองค์ทรงช่วยชาวยิวให้ออกจากการเป็นทาสในอียิปต์ยาวนานถึง 400 ปี ชีวิตทาสของพวกเขาทำงานหนัก ถูกโบยตี ขัดสน ไร้เสรีภาพ และทุกข์ทรมาน ฉะนั้นพระบัญญัติสะบาโตจึงน่าจะสะท้อนถึงพระเจตนารมณ์ของพระเจ้าคือ พระองค์มีประประสงค์ให้มนุษย์ได้ทำงานและมีการหยุดพักจากการทำงาน เพื่อจะได้ไม่มีใครทำงานหนักเยี่ยงทาสนั่นเอง พูดได้อีกอย่างว่า พระเจ้าปรารถนาให้มนุษย์ได้ทำงานอย่างมีความสุข แม้ชีวิตยังต้องทำงานเพื่อหาเลี้ยงชีพ แต่ชีวิตก็ยังมีความสุขด้วย
ยิวให้ความสำคัญกับสะบาโตมาก ธรรมเนียมของยิวระบุถึงความเชื่อที่ว่า พระเมสสิยาห์ (ผู้ที่ชาวยิวรอคอยมาหลายร้อยปีเพื่อมาช่วยชนชาติยิวให้รุ่งเรือง) จะมาหาก ยิวทุกคนถือวันสะบาโตอย่างถูกต้องต่อเนื่องกันสองสะบาโต และในยุคโบราณสมัยพระคัมภีร์เดิมนั้น ใครที่ฝ่าฝืนบัญญัติวันสะบาโต จะมีโทษถึงตายด้วยการถูกหินขว้างเลยทีเดียว
หยุดพัก หยุดทำงาน แล้วทำอะไรกัน ?
ดังที่กล่าวมาข้างต้นว่า ด้วยวัตถุประสงค์ 3 ประการของสะบาโต ทำให้การหยุดพักวันสะบาโต ต้องไม่ใช่หยุดพักเฉยๆ หรือหยุดพักอย่างไร้เป้าหมาย แต่เป็นการ “หยุดพักเพื่อระลึกถึง” สิ่งที่พระเจ้าทรงกระทำเพื่อมนุษย์
แล้วเพื่อให้บรรลุวัตถุ ประสงค์เหล่านี้ เขาทำกิจกรรมอะไรกันล่ะ เรื่องนี้เราควรไปดูว่าชาวยิวทำอะไรกันในวันสะบาโต ในธรรมเนียมของชาวยิว สิ่งที่พวกเขาทำในวันสะบาโตคือ การกินเลื้ยง การอ่านพระคัมภีร์ (โดยเฉพาะชาวยิวจะอ่านเบญจบรรณ รวมทั้งหนังสืออรรถาธิบายอื่นๆ) อธิษฐาน ร้องเพลง (โดยเฉพาะเพลงประเภท zemirot ซึ่งเพลงที่ใช้ร้องในวันสะบาโตเป็นพิเศษ)
ชาวยิวถือวันสะบาโตเป็น วันแห่งการฉลองรวมทั้งการอธิษฐาน เป็นธรรมเนียมที่ต้องรับประทานอาหารเทศกาลสามมื้อระหว่างวันสะบาโต เริ่มจากอาหารเย็นของค่ำวันศุกร์ อาหารเที่ยงวันเสาร์ และมื้อสุดท้ายปิดท้ายวันเสาร์บ่ายๆ อาหารที่รับประทานก็จะมีลักษณะพิเศษสำหรับสะบาโตโดยเฉพาะ
สะบาโตจะเน้นให้ใช้เวลากับครอบครัวและสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว แล้วยังสามารถเชิญเพื่อนบ้านมาทานอาหารสะบาโตด้วยกันที่บ้านด้วย
ยิวหลายคนก็ไปร่วมพิธีนมัสการและอธิษฐานที่ธรรมศาลายิว (synagogue) แม้ว่าวันปกติไม่เคยไป พิธีนมัสการจะจัดในค่ำศุกร์และเสาร์เช้า ธรรมเนียมยิวก็สนับสนุนให้ทำสิ่งเหล่านี้ในวันสะบาโตด้วยคือ การงีบหลับ ไปจนถึงการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา และ ในวันสะบาโตก็จะงดเว้นจากการพูดเรื่องที่ไม่ดี หรือเรื่องที่ไม่สบายใจ รวมทั้งจะไม่พูดเรื่องเงิน เรื่องงาน หรือเรื่องธุรกิจด้วย
นอกจาก นี้ ชาวยิวถือว่าต้องให้เกียรติกับวันสะบาโต โดยมีการเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่วันสะบาโตอย่างดี ชาวยิวจะเตรียมตัวโดยอาบน้ำ ตัดผม ทำความสะอาดบ้าน ตกแต่งบ้านให้สวยงาม การแต่งตัวก็จะใส่เสื้อผ้าสำหรับงานฉลอง
แต่เรื่องดีก็กลายเป็นเรื่องร้ายได้
เชื่อไหมว่า พระบัญญัติสะบาโตที่มุ่งให้ความสุข ก็ถูกบิดเบือนให้กลายเป็นความทุกข์เสียได้ สาเหตุเกิดมาจากชาวยิวตั้งแต่ยุคโบราณได้มีตีความพระบัญญัติในพระคัมภีร์ให้ มีรายละเอียดเพิ่มเติมมากขึ้น บัญญัติเพิ่มเติมเหล่านี้อยู่ในคัมภีร์ของศาสนายูดายที่ชื่อ “มิชน่า” (Mishnar) การเพิ่มเติมที่ว่านี้ส่งผลให้เกิดข้อห้ามวันสะบาโตเต็มไปหมด จนบัญญัติเรื่องวันสะบาโตที่น่าจะทำให้ผู้คนรู้สึกได้พักผ่อน กลับกลายเป็นปัญหาชีวิตที่ไม่สะดวก และยากลำบากขึ้นมาแทน
ในที่สุด ธรรมเนียมสะบาโตของยิวก็เลยกำหนดกิจกรรม 39 ชนิดที่ถือว่า “ห้ามทำ” ในสะบาโต เรียกว่าเป็น “เมลาคา” (melachah) ซึ่งได้แก่ ไถพรวนดิน, หว่าน, เก็บเกี่ยว, มัดฟ่อน, นวดข้าว, ฟัดแกลบ, เลือก, บด โม่หรือฝน, ร่อน, นวดหรือปั้น, อบ, ตัดขนแกะ, ล้างขนแกะ, ตีขน, ย้อมสี, ปั่นด้าย, ทอ, ขมวดหรือทำห่วงสองห่วงขึ้น, ทอด้ายสองเส้นขึ้นไป, แยกด้ายสองเส้นขึ้นไป, ผูกปม, แก้ปม, เย็บตะเข็บ, ฉีก, วางกับดักสัตว์, ฆ่าสัตว์, ลอกหนักหรือแล่เนื้อ, ฟอกหนัง, เก็บเศษ, ลบรอย, ตกแต่ง, เขียนตัวหนังสือสองตัวขึ้นไป, ลบตัวหนังสือสองตัวขึ้นไป, ก่อสร้าง, ทุบทำลาย, ดับไฟ, จุดไฟ, ยกของหรือย้ายของระหว่างที่ส่วนตัวกับที่สาธารณะ หรือยกย้ายของระยะเกิน 2 วา
กฎบัญญัติที่ว่ามานี้ยังประยุกต์ไปสู่กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง อื่นๆ ด้วย เช่น ในยุคสมัยใหม่ก็มีการห้ามขับรถ เพราะการขับรถเกี่ยวข้องกับการจุดไฟ และการเคลื่อนย้ายสิ่งของ เรื่องนี้ก็คงรวมไปถึงการเดินทางด้วยเครื่องบิน เรือ ไปจนถึงการติดเครื่องจักรเครื่องยนต์ทุกชนิดด้วย
เรื่องการเดินทางก็เป็นปัญหาเช่นกัน ธรรมบัญญัติของยิวจะห้ามเดินในวันสะบาโตไกลเกินราวครึ่งไมล์ (หรืออย่างน้อยก็ต้องไม่เดินออกนอกเขตเมืองไกลกว่าครึ่งไมล์) ฉะนั้นคนยิวที่จะไปธรรมศาลาในวันสะบาโตต้องหาที่พักให้อยู่ไม่ไกลจากธรรม ศาลา ให้อยู่ในระยะที่เดินได้ เพราะขับรถก็ไม่ได้ด้วย
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช ซึ่งเคยได้ไปอิสราเอล ได้เขียนเกี่ยวกับเรื่องสะบาโตกับชีวิตของคนยิวในสมัยปัจจุบันดังนี้ว่า
“...ใน วันสะบาโตนี้พระเจ้าได้ห้ามไว้เป็นเด็ดขาดว่า มิให้ยิวทำงาน หรือแม้แต่จะใช้ให้คนหรือสัตว์ทำงานก็ไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ปัญหาต่างๆ ก็เกิดขึ้นในอิสราเอล ซึ่งเป็นเมืองของพระเจ้าในทุกวันสะบาโต ฝรั่งนั้นหยุดงานในวันอาทิตย์ คนไทยเราก็หยุดงานวันอาทิตย์ตามฝรั่งไป แต่ในวันอาทิตย์ทั้งในเมืองฝรั่งและในเมืองไทยนั้น ชีวิตมิได้หยุดลงด้วย ส่วนในอิสราเอลนั้นชีวิตทำท่าว่าจะหยุดลงจริงๆ ขึ้นต้นด้วยการคมนาคมทุกชนิดต้องหยุดหมด ใครขืนเดินรถเมล์ในวันนั้นจะต้องถูกขว้างด้วยก้อนอิฐก้อนหินจนต้องหยุดไป เอง...รถแท็กซี่จะเดินได้ก็เฉพาะรถที่เป็นของส่วนตัวของคนขับ เพราะคนขับนั้นย่อมจะเสี่ยงบาปเสี่ยงกรรมเอาเอง หากเป็นของบริษัทก็จะต้องถูกขว้าง เพราะบริษัทใช้คนอื่นคือคนขับแท็กซี่ให้มาทำบาป ตามโรงแรมต่างๆ ในอิสราเอลนั้นในวันสะบาโตจะไม่มีอาหารร้อนๆ กิน เพราะการก่อไฟหุงข้าวในวันสะบาโตนั้นท่านได้ชี้ขาดไว้นานแล้วว่าเป็นการทำ งาน ใครก่อไฟหุงข้าวก็ละเมิดวันสะบาโตและเป็นบาป คนที่ไปอยู่โรงแรมทั้งที่เป็นยิวและไม่เป็นยิวต้องกินอาหารเย็นตั้งแต่ค่ำ ศุกร์ไปจนถึงเย็นวันเสาร์ เพราะอาหารเย็นนั้นตระเตรียมไว้ล่วงหน้าได้ตั้งแต่ตอนกลางวันวันศุกร์
การก่อไฟนั้น บางคนที่เคร่งหน่อยถือว่าคลุมไปถึงการเปิดสวิตช์ไฟฟ้าด้วย ปัญหาก็เกิดขึ้นว่าในวันศุกร์นั้นจะเปิดไฟกันอย่างไร ใครที่ไม่เสียดมเสียดายค่าไฟจะเปิดทิ้งไว้ตั้งแต่ก่อนพลบค่ำวันศุกร์ก็ได้ แล้วก็ไปปิดเอาในเช้าวันเสาร์ พอค่ำวันเสาร์ก็เปิดใช้ได้ไม่บาป แต่การกระทำเช่นนี้ย่อมหมดเปลืองค่าไฟโดยใช่เหตุ เพื่อแก้ปัญหานี้จึงได้มีผู้คิดเครื่องมือเปิดปิดไฟอัตโนมัติขึ้น เอาเครื่องอัตโนมัตินี้ติดไว้กับสวิตช์ไฟ แล้วตั้งเข็มไว้ให้เปิดตั้งแต่กี่โมงก็ตามใจ พอถึงเวลาเครื่องก็จะเปิดไฟตามนั้น เป็นอันว่ารอดบาปไปได้
ความยากลำบากเหล่านี้เอง ที่ในที่สุดเมื่อพระเยซูคริสต์เสด็จมาพระองค์ได้กำหนดมาตรฐานของสะบาโต รวมทั้งธรรมบัญญัติอื่นๆ ใหม่ โดยพระองค์ตรัสว่า “บรรดาผู้ทำงานเหน็ดเหนื่อยและแบกภาระหนัก จงมาหาเรา และเราจะให้ท่านทั้งหลาย หายเหนื่อยเป็นสุข จงเอาแอกของเราแบกไว้ แล้วเรียนจากเรา เพราะว่าเราสุภาพและใจอ่อนน้อม และจิตใจท่านทั้งหลายจะได้พัก ด้วยว่าแอกของเราก็พอเหมาะ และภาระของเราก็เบา” (มธ.11:28-30)
พระเยซูเองแม้ว่าจะทรงยอมรับ วันสะบาโต แต่ก็ทรงถือว่าพระองค์เป็น “นายเหนือวันสะบาโต” (มธ.12:8; มก.2:28; ลก.6:5) แต่ก็ทรงถือพระบัญญัติเรื่องวันสะบาโตตามเจตนารมณ์ของพระเจ้าจริงๆ ดังที่พระองค์ตรัสว่า “วันสะบาโตมีไว้เพื่อมนุษย์ มิใช่มนุษย์มีไว้เพื่อวันสะบาโต” (มก.2:27) หรือถ้าให้แปลไทยเป็นไทยอีกทีก็ต้องแปลว่า พระเจ้าทรงตั้งวันสะบาโตไว้เพื่อช่วยมนุษย์ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี ไม่ใช่ทรงตั้งวันสะบาโตขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์ต้องมาถือรักษาให้เหนื่อยยาก
สะบาโตกับคริสเตียนยุคปัจจุบัน
คริสเตียนในยุคแรกๆ ก็ถือสะบาโตเป็นวันเสาร์เช่นเดียวกับชาวยิว เนื่องจากคริสเตียนในยุคแรกก็เป็นชาวยิวด้วย แต่ขณะเดียวกันในวันอาทิตย์พวกเขาก็รวมตัวกันตามบ้านของกันและกัน เพื่อร่วมกันระลึกถึงพระเยซูคริสต์และทำพิธีมหาสนิทตามที่พระองค์ทรงสั่งไว้ โดยถือว่าวันอาทิตย์สำคัญของพระเยซูคริสต์ เพราะเป็นวันที่พระองค์ทรงฟื้นคืนพระชนม์ (พระคัมภีร์ใช้คำว่า “รุ่งเช้าวันต้นสัปดาห์” “เช้ามืดวันต้นสัปดาห์” มธ.28:1; มก.16.2, 9; ลก.24.1) และการฟื้นคืนพระชนม์ของพระองค์ถือเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดสำหรับคริสเตียน เพราะการฟื้นคืนพระชนม์ของพระคริสต์ เป็นการพิสูจน์ว่าพระเยซูทรงเป็นพระเจ้า ไม่ใช่คนธรรมดา และการไถ่บาปของพระองค์ก็เป็นเรื่องจริง (1คร.15.3-4) ท่านเปาโลกล่าวถึงการรวมตัวกันถวายทรัพย์ของคริสเตียนในวันอาทิตย์ หรือ “วันต้นสัปดาห์” เช่นกัน (1คร.16:2)
แต่กว่าที่คริสเตียนจะเปลี่ยนมาถือสะบาโตเป็นวันอาทิตย์แทนวันเสาร์อย่าง สมบูรณ์ก็ล่วงเลยมาถึงราวปลายศตวรรษที่หนึ่งหรือต้นศตวรรษที่สอง แต่หลักฐานบางชิ้นก็ชี้ว่าเป็นศตวรรษที่สี่ นอกจากนี้บางกลุ่มก็ยึดถือทั้งสองวันเลย
นอกจากเรื่องของการ เปลี่ยนจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์แล้ว เรื่องของสะบาโตก็ยังมีคำถามตามมาหลายอย่างสำหรับคริสเตียนในสมัยปัจจุบัน ได้แก่
เรายังจำเป็นต้องรักษาพระบัญญัติสะบาโตเคร่งครัดเพียงใด ต้องเคร่งครัดแบบชาวยิวหรือไม่?
ดังที่กล่าวมาข้างต้นว่า ด้วยวัตถุประสงค์ 3 ประการของสะบาโต ทำให้การหยุดพักวันสะบาโต ต้องไม่ใช่หยุดพักเฉยๆ หรือหยุดพักอย่างไร้เป้าหมาย แต่เป็นการ “หยุดพักเพื่อระลึกถึง” สิ่งที่พระเจ้าทรงกระทำเพื่อมนุษย์
แล้วเพื่อให้บรรลุวัตถุ ประสงค์เหล่านี้ เขาทำกิจกรรมอะไรกันล่ะ เรื่องนี้เราควรไปดูว่าชาวยิวทำอะไรกันในวันสะบาโต ในธรรมเนียมของชาวยิว สิ่งที่พวกเขาทำในวันสะบาโตคือ การกินเลื้ยง การอ่านพระคัมภีร์ (โดยเฉพาะชาวยิวจะอ่านเบญจบรรณ รวมทั้งหนังสืออรรถาธิบายอื่นๆ) อธิษฐาน ร้องเพลง (โดยเฉพาะเพลงประเภท zemirot ซึ่งเพลงที่ใช้ร้องในวันสะบาโตเป็นพิเศษ)
ชาวยิวถือวันสะบาโตเป็น วันแห่งการฉลองรวมทั้งการอธิษฐาน เป็นธรรมเนียมที่ต้องรับประทานอาหารเทศกาลสามมื้อระหว่างวันสะบาโต เริ่มจากอาหารเย็นของค่ำวันศุกร์ อาหารเที่ยงวันเสาร์ และมื้อสุดท้ายปิดท้ายวันเสาร์บ่ายๆ อาหารที่รับประทานก็จะมีลักษณะพิเศษสำหรับสะบาโตโดยเฉพาะ
สะบาโตจะเน้นให้ใช้เวลากับครอบครัวและสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว แล้วยังสามารถเชิญเพื่อนบ้านมาทานอาหารสะบาโตด้วยกันที่บ้านด้วย
ยิวหลายคนก็ไปร่วมพิธีนมัสการและอธิษฐานที่ธรรมศาลายิว (synagogue) แม้ว่าวันปกติไม่เคยไป พิธีนมัสการจะจัดในค่ำศุกร์และเสาร์เช้า ธรรมเนียมยิวก็สนับสนุนให้ทำสิ่งเหล่านี้ในวันสะบาโตด้วยคือ การงีบหลับ ไปจนถึงการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา และ ในวันสะบาโตก็จะงดเว้นจากการพูดเรื่องที่ไม่ดี หรือเรื่องที่ไม่สบายใจ รวมทั้งจะไม่พูดเรื่องเงิน เรื่องงาน หรือเรื่องธุรกิจด้วย
นอกจาก นี้ ชาวยิวถือว่าต้องให้เกียรติกับวันสะบาโต โดยมีการเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่วันสะบาโตอย่างดี ชาวยิวจะเตรียมตัวโดยอาบน้ำ ตัดผม ทำความสะอาดบ้าน ตกแต่งบ้านให้สวยงาม การแต่งตัวก็จะใส่เสื้อผ้าสำหรับงานฉลอง
แต่เรื่องดีก็กลายเป็นเรื่องร้ายได้
เชื่อไหมว่า พระบัญญัติสะบาโตที่มุ่งให้ความสุข ก็ถูกบิดเบือนให้กลายเป็นความทุกข์เสียได้ สาเหตุเกิดมาจากชาวยิวตั้งแต่ยุคโบราณได้มีตีความพระบัญญัติในพระคัมภีร์ให้ มีรายละเอียดเพิ่มเติมมากขึ้น บัญญัติเพิ่มเติมเหล่านี้อยู่ในคัมภีร์ของศาสนายูดายที่ชื่อ “มิชน่า” (Mishnar) การเพิ่มเติมที่ว่านี้ส่งผลให้เกิดข้อห้ามวันสะบาโตเต็มไปหมด จนบัญญัติเรื่องวันสะบาโตที่น่าจะทำให้ผู้คนรู้สึกได้พักผ่อน กลับกลายเป็นปัญหาชีวิตที่ไม่สะดวก และยากลำบากขึ้นมาแทน
ในที่สุด ธรรมเนียมสะบาโตของยิวก็เลยกำหนดกิจกรรม 39 ชนิดที่ถือว่า “ห้ามทำ” ในสะบาโต เรียกว่าเป็น “เมลาคา” (melachah) ซึ่งได้แก่ ไถพรวนดิน, หว่าน, เก็บเกี่ยว, มัดฟ่อน, นวดข้าว, ฟัดแกลบ, เลือก, บด โม่หรือฝน, ร่อน, นวดหรือปั้น, อบ, ตัดขนแกะ, ล้างขนแกะ, ตีขน, ย้อมสี, ปั่นด้าย, ทอ, ขมวดหรือทำห่วงสองห่วงขึ้น, ทอด้ายสองเส้นขึ้นไป, แยกด้ายสองเส้นขึ้นไป, ผูกปม, แก้ปม, เย็บตะเข็บ, ฉีก, วางกับดักสัตว์, ฆ่าสัตว์, ลอกหนักหรือแล่เนื้อ, ฟอกหนัง, เก็บเศษ, ลบรอย, ตกแต่ง, เขียนตัวหนังสือสองตัวขึ้นไป, ลบตัวหนังสือสองตัวขึ้นไป, ก่อสร้าง, ทุบทำลาย, ดับไฟ, จุดไฟ, ยกของหรือย้ายของระหว่างที่ส่วนตัวกับที่สาธารณะ หรือยกย้ายของระยะเกิน 2 วา
กฎบัญญัติที่ว่ามานี้ยังประยุกต์ไปสู่กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง อื่นๆ ด้วย เช่น ในยุคสมัยใหม่ก็มีการห้ามขับรถ เพราะการขับรถเกี่ยวข้องกับการจุดไฟ และการเคลื่อนย้ายสิ่งของ เรื่องนี้ก็คงรวมไปถึงการเดินทางด้วยเครื่องบิน เรือ ไปจนถึงการติดเครื่องจักรเครื่องยนต์ทุกชนิดด้วย
เรื่องการเดินทางก็เป็นปัญหาเช่นกัน ธรรมบัญญัติของยิวจะห้ามเดินในวันสะบาโตไกลเกินราวครึ่งไมล์ (หรืออย่างน้อยก็ต้องไม่เดินออกนอกเขตเมืองไกลกว่าครึ่งไมล์) ฉะนั้นคนยิวที่จะไปธรรมศาลาในวันสะบาโตต้องหาที่พักให้อยู่ไม่ไกลจากธรรม ศาลา ให้อยู่ในระยะที่เดินได้ เพราะขับรถก็ไม่ได้ด้วย
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช ซึ่งเคยได้ไปอิสราเอล ได้เขียนเกี่ยวกับเรื่องสะบาโตกับชีวิตของคนยิวในสมัยปัจจุบันดังนี้ว่า
“...ใน วันสะบาโตนี้พระเจ้าได้ห้ามไว้เป็นเด็ดขาดว่า มิให้ยิวทำงาน หรือแม้แต่จะใช้ให้คนหรือสัตว์ทำงานก็ไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ปัญหาต่างๆ ก็เกิดขึ้นในอิสราเอล ซึ่งเป็นเมืองของพระเจ้าในทุกวันสะบาโต ฝรั่งนั้นหยุดงานในวันอาทิตย์ คนไทยเราก็หยุดงานวันอาทิตย์ตามฝรั่งไป แต่ในวันอาทิตย์ทั้งในเมืองฝรั่งและในเมืองไทยนั้น ชีวิตมิได้หยุดลงด้วย ส่วนในอิสราเอลนั้นชีวิตทำท่าว่าจะหยุดลงจริงๆ ขึ้นต้นด้วยการคมนาคมทุกชนิดต้องหยุดหมด ใครขืนเดินรถเมล์ในวันนั้นจะต้องถูกขว้างด้วยก้อนอิฐก้อนหินจนต้องหยุดไป เอง...รถแท็กซี่จะเดินได้ก็เฉพาะรถที่เป็นของส่วนตัวของคนขับ เพราะคนขับนั้นย่อมจะเสี่ยงบาปเสี่ยงกรรมเอาเอง หากเป็นของบริษัทก็จะต้องถูกขว้าง เพราะบริษัทใช้คนอื่นคือคนขับแท็กซี่ให้มาทำบาป ตามโรงแรมต่างๆ ในอิสราเอลนั้นในวันสะบาโตจะไม่มีอาหารร้อนๆ กิน เพราะการก่อไฟหุงข้าวในวันสะบาโตนั้นท่านได้ชี้ขาดไว้นานแล้วว่าเป็นการทำ งาน ใครก่อไฟหุงข้าวก็ละเมิดวันสะบาโตและเป็นบาป คนที่ไปอยู่โรงแรมทั้งที่เป็นยิวและไม่เป็นยิวต้องกินอาหารเย็นตั้งแต่ค่ำ ศุกร์ไปจนถึงเย็นวันเสาร์ เพราะอาหารเย็นนั้นตระเตรียมไว้ล่วงหน้าได้ตั้งแต่ตอนกลางวันวันศุกร์
การก่อไฟนั้น บางคนที่เคร่งหน่อยถือว่าคลุมไปถึงการเปิดสวิตช์ไฟฟ้าด้วย ปัญหาก็เกิดขึ้นว่าในวันศุกร์นั้นจะเปิดไฟกันอย่างไร ใครที่ไม่เสียดมเสียดายค่าไฟจะเปิดทิ้งไว้ตั้งแต่ก่อนพลบค่ำวันศุกร์ก็ได้ แล้วก็ไปปิดเอาในเช้าวันเสาร์ พอค่ำวันเสาร์ก็เปิดใช้ได้ไม่บาป แต่การกระทำเช่นนี้ย่อมหมดเปลืองค่าไฟโดยใช่เหตุ เพื่อแก้ปัญหานี้จึงได้มีผู้คิดเครื่องมือเปิดปิดไฟอัตโนมัติขึ้น เอาเครื่องอัตโนมัตินี้ติดไว้กับสวิตช์ไฟ แล้วตั้งเข็มไว้ให้เปิดตั้งแต่กี่โมงก็ตามใจ พอถึงเวลาเครื่องก็จะเปิดไฟตามนั้น เป็นอันว่ารอดบาปไปได้
ความยากลำบากเหล่านี้เอง ที่ในที่สุดเมื่อพระเยซูคริสต์เสด็จมาพระองค์ได้กำหนดมาตรฐานของสะบาโต รวมทั้งธรรมบัญญัติอื่นๆ ใหม่ โดยพระองค์ตรัสว่า “บรรดาผู้ทำงานเหน็ดเหนื่อยและแบกภาระหนัก จงมาหาเรา และเราจะให้ท่านทั้งหลาย หายเหนื่อยเป็นสุข จงเอาแอกของเราแบกไว้ แล้วเรียนจากเรา เพราะว่าเราสุภาพและใจอ่อนน้อม และจิตใจท่านทั้งหลายจะได้พัก ด้วยว่าแอกของเราก็พอเหมาะ และภาระของเราก็เบา” (มธ.11:28-30)
พระเยซูเองแม้ว่าจะทรงยอมรับ วันสะบาโต แต่ก็ทรงถือว่าพระองค์เป็น “นายเหนือวันสะบาโต” (มธ.12:8; มก.2:28; ลก.6:5) แต่ก็ทรงถือพระบัญญัติเรื่องวันสะบาโตตามเจตนารมณ์ของพระเจ้าจริงๆ ดังที่พระองค์ตรัสว่า “วันสะบาโตมีไว้เพื่อมนุษย์ มิใช่มนุษย์มีไว้เพื่อวันสะบาโต” (มก.2:27) หรือถ้าให้แปลไทยเป็นไทยอีกทีก็ต้องแปลว่า พระเจ้าทรงตั้งวันสะบาโตไว้เพื่อช่วยมนุษย์ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี ไม่ใช่ทรงตั้งวันสะบาโตขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์ต้องมาถือรักษาให้เหนื่อยยาก
สะบาโตกับคริสเตียนยุคปัจจุบัน
คริสเตียนในยุคแรกๆ ก็ถือสะบาโตเป็นวันเสาร์เช่นเดียวกับชาวยิว เนื่องจากคริสเตียนในยุคแรกก็เป็นชาวยิวด้วย แต่ขณะเดียวกันในวันอาทิตย์พวกเขาก็รวมตัวกันตามบ้านของกันและกัน เพื่อร่วมกันระลึกถึงพระเยซูคริสต์และทำพิธีมหาสนิทตามที่พระองค์ทรงสั่งไว้ โดยถือว่าวันอาทิตย์สำคัญของพระเยซูคริสต์ เพราะเป็นวันที่พระองค์ทรงฟื้นคืนพระชนม์ (พระคัมภีร์ใช้คำว่า “รุ่งเช้าวันต้นสัปดาห์” “เช้ามืดวันต้นสัปดาห์” มธ.28:1; มก.16.2, 9; ลก.24.1) และการฟื้นคืนพระชนม์ของพระองค์ถือเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดสำหรับคริสเตียน เพราะการฟื้นคืนพระชนม์ของพระคริสต์ เป็นการพิสูจน์ว่าพระเยซูทรงเป็นพระเจ้า ไม่ใช่คนธรรมดา และการไถ่บาปของพระองค์ก็เป็นเรื่องจริง (1คร.15.3-4) ท่านเปาโลกล่าวถึงการรวมตัวกันถวายทรัพย์ของคริสเตียนในวันอาทิตย์ หรือ “วันต้นสัปดาห์” เช่นกัน (1คร.16:2)
แต่กว่าที่คริสเตียนจะเปลี่ยนมาถือสะบาโตเป็นวันอาทิตย์แทนวันเสาร์อย่าง สมบูรณ์ก็ล่วงเลยมาถึงราวปลายศตวรรษที่หนึ่งหรือต้นศตวรรษที่สอง แต่หลักฐานบางชิ้นก็ชี้ว่าเป็นศตวรรษที่สี่ นอกจากนี้บางกลุ่มก็ยึดถือทั้งสองวันเลย
นอกจากเรื่องของการ เปลี่ยนจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์แล้ว เรื่องของสะบาโตก็ยังมีคำถามตามมาหลายอย่างสำหรับคริสเตียนในสมัยปัจจุบัน ได้แก่
เรายังจำเป็นต้องรักษาพระบัญญัติสะบาโตเคร่งครัดเพียงใด ต้องเคร่งครัดแบบชาวยิวหรือไม่?
ใช้วันอื่นหยุดพักและนมัสการแทนวันอาทิตย์ได้ไหม?
คนที่อยู่ในงานอาชีพหลายอย่างที่จำเป็นต้องทำในวันอาทิตย์และไม่สามารถหยุดทุกวันอาทิตย์ได้ ควรลาออกไปหางานใหม่หรือไม่?
อาชีพชนิดที่จำเป็นต้องมีแม้ในยามที่คนอื่นหยุด ควรยกเลิกให้หมดด้วยไหม?
จำเป็นต้องหยุดเต็มวันไหม? ครึ่งวันได้ไหม?
ไปเดินเที่ยว เล่นกีฬา หรือมีการละเล่นต่างๆ ในวันอาทิตย์ได้ไหม?
และอื่นๆ
คริสเตียน โปรเตสแต๊นท์ในปัจจุบันมีแนวคิดเกี่ยวกับวันสะบาโตเป็น 3 ทัศนะ
ทัศนะแรก ยึดถือวันเสาร์เป็นวันสะบาโตตามพระบัญญัติเหมือนเดิม
ทัศนะที่สองยึดถือวันอาทิตย์เป็นวันสะบาโตแทน
ทัศนะที่สาม ไม่ยึถถือพระบัญญัติสะบาโตเลย
เหตุผลของทัศนะที่หนึ่งและสองได้กล่าวถึงไปแล้ว แต่ทัศนะที่สามมีเหตุผลว่า พระเยซูได้ทรงยกเลิกพระบัญญัติเรื่องวันสะบาโตไปแล้ว เช่นเดียวกับพระบัญญัติด้านการถวายเครื่องเผาบูชา (มีการโยงพระบัญญัติวันสะบาโตว่าเกี่ยวข้องกับการถวายเครื่องเผาบูชาและวัน เทศกาล ดู กดว.28-29) แต่ยังคงยึดถือว่าคริสเตียนต้องมีการหยุดพักและนมัสการพระเจ้า เพียงแต่จะใช้วันเวลาใดก็ได้ และยังถืออีกว่า ท่านเปาโลกล่าวว่า พระเยซูทรงฉีกพระบัญญัติที่ผูกมัดเราแล้วที่กางเขน ฉะนั้นอย่าให้ใครมาพิพากษาเราโดยใช้เรื่องการกินดื่ม การถือเทศกาล หรือการถือสะบาโตมาเป็นเหตุ สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงเงาของพระคริสต์ซึ่งจะทรงมาทำให้สิ่งเหล่านี้สมบูรณ์ ในภายหลัง (คส.2:14-17)
กลุ่มเซเว่นเดย์แอดเวนทิสต์ ยึดถือทัศนะที่หนึ่ง
กลุ่มเซเว่นเดย์แอดเวนทิสต์ ยึดถือทัศนะที่หนึ่ง
คาทอลิกและกลุ่มคริสเตียนกระแสหลักยึดถือทัศนะที่สอง
และคริสเตียนอีกจำนวนมากก็ยึดทัศนะที่สาม
ในเรื่องนี้ คงไม่ฟันธงลงไปว่าทัศนะใดถูกหรือผิด สิ่งที่สำคัญกว่าคือ เราต้องตระหนักถึงวัตถุประสงค์ที่พระเจ้าทรงกำหนดให้มีวันสะบาโตขึ้นมา นั่นคือ พระองค์ประสงค์ให้มนุษย์เรามีการ “หยุดพักเพื่อระลึกถึงสิ่งที่พระเจ้าทรงกระทำเพื่อมนุษย์”
ในเรื่องนี้ คงไม่ฟันธงลงไปว่าทัศนะใดถูกหรือผิด สิ่งที่สำคัญกว่าคือ เราต้องตระหนักถึงวัตถุประสงค์ที่พระเจ้าทรงกำหนดให้มีวันสะบาโตขึ้นมา นั่นคือ พระองค์ประสงค์ให้มนุษย์เรามีการ “หยุดพักเพื่อระลึกถึงสิ่งที่พระเจ้าทรงกระทำเพื่อมนุษย์”
คริสเตียนยังควรมีท่าทีต่อสะบาโต ในลักษณะที่ว่า..
- เราต้องให้ความสำคัญกับการหยุดพักและนมัสการ ... เพราะพระเจ้าทรงสั่งและตั้งเป็นพระบัญญัติ
- เราต้องจัดเวลาให้กับการหยุดพักและนมัสการอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ... เพราะพระเจ้าทรงกำหนดให้มีความถี่ ทุกสัปดาห์ และ
- เราต้องจัดรูปแบบชีวิตให้สอดคล้องกับการหยุดพักและนมัสการ ... เพราะพระเจ้าทรงกำหนดรายละเอียดบางประการที่แสดงว่าพระองค์ประสงค์ให้เราได้ พักและนมัสการจริงๆ
เรื่องนี้อาจยากยิ่งขึ้นสำหรับคนในยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นโลกยุคอุตสาหกรรม ที่คนทำงานหนัก ทำงานมาก หลายคนต้องทำงานในวันเสาร์-อาทิตย์ หรือไม่มีวันหยุดที่แน่นอน ทั้งที่ตนเองก็ไม่ได้อยากเป็นอย่างนี้ แต่สถานการณ์ของอาชีพการงานในปัจจุบันก็บีบบังคับ แต่ถึงกระนั้นก็ยังควรพยายามหาช่องทางที่จะ “หยุดพักและนมัสการ” ให้ได้
เราอาจต้องพยายามทำงานให้เสร็จในวันอื่นๆ ลองหาวิธีบริหารจัดการที่เหมาะสมกับสถานการณ์ของเราแต่ละคน และวันหยุดพักเพื่อนมัสการของเรานั้น ควรเป็นเวลาที่ให้ตนเองได้ผ่อนคลายจากความเหน็ดเหนื่อย ได้นมัสการพระเจ้า และได้ใช้เวลากับครอบครัวจริงๆ พระเจ้าไม่ปรารถนาให้เราทำงานจนเป็นทาสของงาน ในพระคัมภีร์ได้ให้ภาพแก่เราว่า พระเจ้าให้เราทำงานเพื่อเลี้ยงชีพ และดูแลสร้างสรรค์โลก ขณะเดียวกันงานก็สามารถพัฒนาตัวมนุษย์และให้ความรื่นรมย์แก่มนุษย์ด้วย หรืออาจลองพิจารณาที่จะไปนมัสการที่คริสตจักรที่อยู่ใกล้บ้าน เพื่อจะได้ไม่ต้องใช้พลังงานและเวลาในการเดินทางมากเกินไป
นอกจากนี้คริสตจักรในปัจจุบันก็ควรหาทางช่วยคริสตสมาชิกให้ถือสะบาโตง่ายขึ้น ด้วย เช่น คริสตจักรควรจัดนมัสการในวันและเวลาอื่นๆ ด้วย ไม่ใช่จัดเฉพาะวันอาทิตย์เช้าเท่านั้น หรือคริสตจักรไม่ควรจัด กำหนดการหรือกิจกรรม ให้สมาชิกต้องใช้เวลาที่คริสตจักรในวันอาทิตย์จนกระทั่งไม่เหลือเวลาสำหรับ การพักผ่อน หรือไม่มีเวลาให้ครอบครัวเลย หรือหากต้องจัดวันอาทิตย์ก็ควรใช้รูปแบบที่สมาชิกหรือผู้สนใจสามารถรู้สึก ว่าเป็นการพักผ่อนและได้ใช้เวลากับครอบครัวไปด้วย
เคยมีบางคนบอก ผมว่า สำหรับเขาแล้ววัน “สะบาโต” กลายเป็นวัน “สะบ้าโต” ไปแล้ว เพราะวันอาทิตย์ที่พระเจ้าให้เขาหยุดพัก กลายเป็นวันที่เขา “เหนื่อยที่สุด”
- เราต้องให้ความสำคัญกับการหยุดพักและนมัสการ ... เพราะพระเจ้าทรงสั่งและตั้งเป็นพระบัญญัติ
- เราต้องจัดเวลาให้กับการหยุดพักและนมัสการอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ... เพราะพระเจ้าทรงกำหนดให้มีความถี่ ทุกสัปดาห์ และ
- เราต้องจัดรูปแบบชีวิตให้สอดคล้องกับการหยุดพักและนมัสการ ... เพราะพระเจ้าทรงกำหนดรายละเอียดบางประการที่แสดงว่าพระองค์ประสงค์ให้เราได้ พักและนมัสการจริงๆ
เรื่องนี้อาจยากยิ่งขึ้นสำหรับคนในยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นโลกยุคอุตสาหกรรม ที่คนทำงานหนัก ทำงานมาก หลายคนต้องทำงานในวันเสาร์-อาทิตย์ หรือไม่มีวันหยุดที่แน่นอน ทั้งที่ตนเองก็ไม่ได้อยากเป็นอย่างนี้ แต่สถานการณ์ของอาชีพการงานในปัจจุบันก็บีบบังคับ แต่ถึงกระนั้นก็ยังควรพยายามหาช่องทางที่จะ “หยุดพักและนมัสการ” ให้ได้
เราอาจต้องพยายามทำงานให้เสร็จในวันอื่นๆ ลองหาวิธีบริหารจัดการที่เหมาะสมกับสถานการณ์ของเราแต่ละคน และวันหยุดพักเพื่อนมัสการของเรานั้น ควรเป็นเวลาที่ให้ตนเองได้ผ่อนคลายจากความเหน็ดเหนื่อย ได้นมัสการพระเจ้า และได้ใช้เวลากับครอบครัวจริงๆ พระเจ้าไม่ปรารถนาให้เราทำงานจนเป็นทาสของงาน ในพระคัมภีร์ได้ให้ภาพแก่เราว่า พระเจ้าให้เราทำงานเพื่อเลี้ยงชีพ และดูแลสร้างสรรค์โลก ขณะเดียวกันงานก็สามารถพัฒนาตัวมนุษย์และให้ความรื่นรมย์แก่มนุษย์ด้วย หรืออาจลองพิจารณาที่จะไปนมัสการที่คริสตจักรที่อยู่ใกล้บ้าน เพื่อจะได้ไม่ต้องใช้พลังงานและเวลาในการเดินทางมากเกินไป
นอกจากนี้คริสตจักรในปัจจุบันก็ควรหาทางช่วยคริสตสมาชิกให้ถือสะบาโตง่ายขึ้น ด้วย เช่น คริสตจักรควรจัดนมัสการในวันและเวลาอื่นๆ ด้วย ไม่ใช่จัดเฉพาะวันอาทิตย์เช้าเท่านั้น หรือคริสตจักรไม่ควรจัด กำหนดการหรือกิจกรรม ให้สมาชิกต้องใช้เวลาที่คริสตจักรในวันอาทิตย์จนกระทั่งไม่เหลือเวลาสำหรับ การพักผ่อน หรือไม่มีเวลาให้ครอบครัวเลย หรือหากต้องจัดวันอาทิตย์ก็ควรใช้รูปแบบที่สมาชิกหรือผู้สนใจสามารถรู้สึก ว่าเป็นการพักผ่อนและได้ใช้เวลากับครอบครัวไปด้วย
เคยมีบางคนบอก ผมว่า สำหรับเขาแล้ววัน “สะบาโต” กลายเป็นวัน “สะบ้าโต” ไปแล้ว เพราะวันอาทิตย์ที่พระเจ้าให้เขาหยุดพัก กลายเป็นวันที่เขา “เหนื่อยที่สุด”
Manuscripts of the Old Testament
TextsOT.PNG
English: The relationship between the various ancient manuscripts of the Old Testament, according to the Encyclopaedia Biblica. Dotted pale blue lines indicate texts which were used to correct the main source.
The isolated letters are standard siglums designating particularly significant manuscripts:
English: The relationship between the various ancient manuscripts of the Old Testament, according to the Encyclopaedia Biblica. Dotted pale blue lines indicate texts which were used to correct the main source.
The isolated letters are standard siglums designating particularly significant manuscripts:
- X [aleph] = Codex Sinaiticus
- A = Codex Alexandrinus
- B = Codex Vaticanus
- Q = Codex Marchalianus
- MT = Masoretic Text
- LXX = Septuagint - in this diagramme, this refers to the original version of the Septuagint (as opposed to Lucian, Heysicius, Hexaplar, A, B, X [aleph], etc., the Old Testaments/Hebrew Bibles of which are commonly also called Septuagint)
พระวาทะ (The Word)
พระกิตติคุณยอห์นได้กล่าวถึงพระเยซูคริสต์ ว่าพระองค์ทรงเป็นพระวาทะถึง 4 ครั้ง
คำว่าพระวาทะ (Logos) ใช้ในพันธสัญญาใหม่ 300 กว่าครั้ง หมายถึง "คำ" บางครั้งหมายถึง "พระคำของพระเจ้า" หรือ "พระวจนะ" เช่น 2 เปโตร 3:5 "พระเจ้าทรงสร้างไว้โดยพระวจนะ (โลโกส) ของพระเจ้า" สำหรับคำนี้เบื้องหลังแบบยิวเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ในปฐมกาลบทที่ 1 และอีกหลาย ๆ ตอนของพันธสัญญาเดิม เราเห็นว่าพระวจนะของพระเจ้ามีฤทธิ์เดชที่จะทำให้พระประสงค์ของพระเจ้าสำเร็จ (ปฐก.1:3,6 / สดุดี 33:6 / อิสยาห์ 55:11) จึงอาจจะเข้าใจได้ว่า พระวจนะนั้นมีบุคลิกภาพ (ให้เปรียบเทียบกับคำว่า "ปัญญา" ใน สุภาษิต 8:1,22-31 ซึ่งมีลักษณะเป็นบุคคลเช่นเดียวกัน)
ในวรรณกรรมของชาวยิวซึ่งอยู่ระหว่างช่วงกลางของพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่มีการใช้คำว่า "พระวจนะ" และ "ปัญญา" ในลักษณะที่เป็นบุคคลมากขึ้น นอกจากนั้นพระธรรมทาร์กุม (Targum) ซึ่งเป็นพันธสัญญาเดิมที่แปลจากภาษาฮีบรูมาเป็นภาษาพูดต่าง ๆ คำว่า "พระคำของพระเจ้า" ได้ถูกใช้หลายครั้งในฐานะชื่อหนึ่งของพระเจ้า
เบื้องหลังแบบกรีกก็สำคัญด้วย เพราะเป็นเรื่องที่ผู้อ่านพระธรรมยอห์นหลายคนได้รู้จักแล้ว ตามความคิดของพวกสโตอิก (Stoic) "โลโกส" เป็นแหล่งกำลังแห่งชีวิต ซึ่งแผ่ซ่านในบรรดาสรรพสิ่ง เป็นหลักธรรมที่ช่วยให้จักรวาลเป็นระเบียบและมีเหตุผล ... ดังนั้น ทั้งพวกยิวและพวกกรีกจะเข้าใจว่า "โลโกส" เป็นการเริ่มต้นของทุกสิ่ง จึงเป็นคำเหมาะสมมากที่ยอห์นใช้สำหรับแนะนำความสำคัญของพระเยซู ... อย่างไรก็ตาม เบื้องหลังความคิดของกรีกและยิว ไม่ลึกซึ้งเท่าความคิดของยอห์น คือ พระวาทะ เป็นบุคคลที่อยู่ก่อนทุกสิ่ง และมาบังเกิดในโลกนี้ ซึ่งเป็นความคิดใหม่ที่รุนแรงและแปลกมากสำหรับชาวยิวและชาวกรีก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)