คำถาม: คริสเตียนต้องร้กษาวันสะบาโตไหม?
คำตอบ: บ่อยครั้งมีการอ้างว่า “พระเจ้าทรงสถาปนาวันสะบาโตในสวนเอเดน” เนื่องจากการเกี่ยวข้องระหว่างวันสะบาโตและการทรงสร้างในหนังสืออพยพ 20:11 แม้ว่าการที่พระเจ้าจะทรงพักผ่อนในวันที่เจ็ด (ปฐมกาล 2:3) จะเป็นเงาในการตั้งกฎแห่งวันสะบาโตในอนาคตขึ้นมาก็ตาม ก่อนหน้าที่ชนชาติอิสราเอลจะออกจากอียิปต์พระคัมภีร์ไม่ได้พูดถึงวันสะบาโตเลย ไม่มีพระคัมภีร์ตอนไหนที่บอกว่าผู้คนตั้งแต่สมัยอาดัมจนถึงโมเสสยึดถือวันสะบาโต
พระวจนะของพระเจ้าตรัสไว้อย่างชัดเจนว่าการรักษาวันสะบาโตเป็นหมายสำคัญระหว่างพระเจ้าและชนชาติอิสราเอล “โมเสสขึ้นไปเฝ้าพระเจ้า พระเจ้าตรัสจากภูเขานั้นว่า "บอกวงศ์วานยาโคบและชนชาติอิสราเอลดังนี้ว่า`พวกเจ้าได้เห็นกิจการซึ่งเรากระทำกับชาวอียิปต์แล้ว และที่เราเทิดชูเจ้าขึ้น ดุจดังด้วยปีกนกอินทรี เพื่อนำเจ้ามาถึงเรา เหตุฉะนั้นถ้าเจ้าฟังเสียงเรา และรักษาพันธสัญญาของเราไว้ เจ้าจะเป็นกรรมสิทธิ์ของเราที่เราเลือกสรรท่ามกลางชนชาติทั้งปวง เพราะแผ่นดินทั้งสิ้นเป็นของเรา” (อพยพ 19:3–5)
“เหตุฉะนี้ ชนชาติอิสราเอลจึงถือวันสะบาโตตลอดชั่วชาติพันธุ์ของเขาเป็นพันธสัญญาเนืองนิตย์ เป็นหมายสำคัญระหว่างเรากับชนชาติอิสราเอลว่า ในหกวันพระเจ้าได้ทรงสร้างฟ้าสวรรค์และแผ่นดินโลก แต่ในวันที่เจ็ดพระองค์ได้ทรงงดการงานไว้ และได้ทรงหย่อนพระทัยในวันนั้น” (อพยพ 31:16–17)
ในเฉลยธรรมบัญญัติ 5 โมเสสโยงบัญญัติสิบประการไปถึงชนชาติอิสราเอลรุ่นถัดไป ในตอนนี้ หลังจากที่ได้สั่งให้พวกเขารักษาวันสะบาโตในข้อ 12-14 แล้ว โมเสสยังให้เหตุผลว่าทำไมคนอิสราเอลจึงต้องรักษาวันสะบาโต: “จงระลึกว่าเจ้าเคยเป็นทาสอยู่ในแผ่นดินอียิปต์ และพระเยโฮวาห์พระเจ้าของเจ้าได้พาเจ้าออกมาจากที่นั่นด้วยพระหัตถ์อันทรงฤทธิ์ และด้วยพระกรที่เหยียดออก เหตุฉะนี้พระเยโฮวาห์พระเจ้าของเจ้าได้ทรงบัญชาให้เจ้ารักษาวันสะบาโต” (เฉลยธรรมบัญญัติ 5:15)
จงสังเกตคำว่าเหตุฉะนี้ พระประสงค์ของพระเจ้าในการกำหนดวันสะบาโตให้กับคนอิสราเอลไม่ใช่เพื่อให้พวกเขาจำการทรงสร้าง แต่เพื่อให้พวกเขาจำการเป็นทาสในอียิปต์และการทรงปลดปล่อยพวกเขาให้เป็นอิสระ จงสังเกตุข้อเรียกร้องในการรักษาวันสะบาโต: คนที่ถือวันสะบาโตออกจากที่พักของตนไม่ได้ (อพยพ 16:29), ก่อไฟไม่ได้ (อพยพ 35:3) ให้ใครทำการงานใด ๆ ไม่ได้ (อพยพ 5:14) ผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎแห่งวันสะบาโตจะต้องถูกลงโทษถึงตาย (อพยพ 31:15; กันดารวิถี 15:32–35)
จากการค้นคว้าข้อพระคัมภีร์ในพันธสัญญาใหม่เราได้พบหัวข้อสำคัญสี่หัวข้อคือ: 1) เมื่อใดที่พระคริสต์ปรากฏพระองค์ในสภาพหลังการฟื้นคืนพระชนม์และมีการบอกวันไว้ วันนั้นจะเป็นวันแรกของสัปดาห์เสมอ (มัทธิว 28:1, 9, 10; มาระโก 16:9; ลูกา 24:1, 13, 15; ยอห์น 20:19, 26) 2) ครั้งเดียวที่วันสะบาโตถูกกล่าวถึงตั้งแต่ในหนังสือกิจการจนถึงวิวรณ์ก็เพื่อการประกาศต่อคนยิว และสถานที่ในการประกาศก็คือในธรรมศาลา (กิจการยทที่ 13–18) ท่านเปาโลเขียนว่า “ต่อพวกยิว ข้าพเจ้าก็ทำตัวเหมือนยิว เพื่อจะได้พวกยิว” (1 โครินธ์ 9:20) ท่านเปาโลไม่ได้ไปที่ธรรมศาลาเพื่อมีสามัคคีธรรมและเสริมสร้างธรรมิกชน แต่เพื่อให้พวกเขารู้สึกผิดและช่วยผู้หลงหายให้รอด 3) ครั้งหนึ่งท่านเปาโลประกาศว่า “ตั้งแต่นี้ไปข้าพเจ้าจะไปหาคนต่างชาติ” (กิจการ 18:6), วันสะบาโตไม่ได้ถูกกล่าวถึงอีกเลย, และ 4) แทนที่ส่วนที่เหลือในพระคัมภีร์ใหม่จะเสนอแนะให้ยึดติดกับวันสะบาโต, ข้อพระคัมภีร์กลับชี้แนะไปยังทิศทางตรงกันข้าม (รวมถึงข้อยกเว้นหนึ่งข้อจากหนังสือโคโลสี 2:26 สำหรับข้อ 3 ข้างต้น)
หากเราดูให้ละเอียดยิ่งขึ้น ข้อ 4 ข้างต้นจะเปิดเผยว่าไม่ได้มีการบังคับให้ผู้เชื่อในพันธสัญญาใหม่รักษาวันสะบาโต และแสดงให้เห็นด้วยว่าแนวความคิดที่ว่าวันอาทิตย์เป็นวัน “สะบาโตสำหรับคริสเตียน” ไม่มีในพระคัมภีร์เช่นเดียวกัน ดังที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น มีอยู่ครั้งเดียวที่วันสะบาโตถูกนำมากล่าวถึงหลังจากที่ท่านเปาโลเริ่มเน้นที่คนต่างชาติ, “เหตุฉะนั้นอย่าให้ผู้ใดพิพากษาปรักปรำท่านในเรื่องการกินการดื่ม ในเรื่องเทศกาล วันต้นเดือน หรือวันสะบาโตสิ่งเหล่านี้เป็นเพียงเงาของเหตุการณ์ที่จะมีมาในภายหลัง แต่กายนั้นเป็นของพระคริสต์” (โคโลสี 2:16–17) วันสะบาโตของชาวยิวได้ถูกลบล้างออกไปที่กางเขนที่ซึ่งพระคริสต์ “ทรงฉีกกรรมธรรม์ซึ่งได้ผูกมัดเราด้วยบัญญัติต่างๆซึ่งขัดขวางเรา” (โคโลสี 2:14)
แนวความคิดนี้ได้ถูกย้ำมากกว่าหนึ่งครั้งในพันธสัญญาใหม่: “คนหนึ่งถือว่าวันหนึ่งดีกว่าอีกวันหนึ่ง แต่อีกคนหนึ่งถือว่าทุกวันเหมือนกัน ขอให้ทุกคนมีความแน่ใจในความคิดเห็นของตนเถิด ผู้ที่ถือวันก็ถือเพื่อถวายเกียรติแด่องค์พระผู้เป็นเจ้า ผู้ที่กินก็กินเพื่อถวายเกียรติแด่องค์พระผู้เป็นเจ้า เพราะเขาขอบพระคุณพระเจ้า และผู้ที่ไม่ได้กิน ก็มิได้กิจเพื่อถวายเกียรติแค่องค์พระผู้เป็นเจ้า และยังขอบพระคุณพระเจ้า” (โรม 14:5–6ก) “แต่บัดนี้เมื่อท่านรู้จักพระเจ้าแล้ว หรือที่ถูกก็คือพระเจ้าทรงรู้จักท่านแล้ว เหตุไฉนท่านจึงจะกลับไปหาวิญญาณต่างๆซึ่งอ่อนแอและอเนจอนาถ และอยากจะเป็นทาสของสิ่งเหล่านั้นอีก ท่านถือวัน เดือน ฤดู และปี” (กาลาเทีย 4:9–10)
แต่บางคนอ้างว่ากษัตริย์คอนสแตนตินได้ “เปลี่ยน” วันสะบาโตจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์ในปีคศ 321 คริสตจักรในยุคแรกประชุมนมัสการกันวันไหน? พระคัมภีร์ไม่เคยพูดถึงการเข้ามาชุมนุมกันของผู้เชื่อเพื่อมีสามัคคีธรรมและนมัสการในวันสะบาโต (วันเสาร์) ไหนเลย แต่มีข้อพระคัมภีร์หลายข้อที่กล่าวถึงวันแรกของสัปดาห์ ยกตัวอย่างเช่น, หนังสือกิจการ 20:7 กล่าวว่า “ในวันต้นสัปดาห์เมื่อพวกสาวกประชุมกันทำพิธีหักขนมปัง” ใน 1 โครินธ์ 16:2 ท่านเปาโลหนุนใจผู้เชื่อชาวเมืองโครินธ์ว่า “ทุกวันต้นสัปดาห์ให้พวกท่านทุกคนเก็บผลประโยชน์ที่ได้รับไว้บ้าง” เนื่องจากท่านเปาโลได้ระบุให้การถวายทรัพย์นี้เป็น “การปรนิบัติ” ในหนังสือ 2 โครินธ์ 9:12 ดังนั้นการถวายนี้คงเกี่ยวข้องไปถึงการประชุมนมัสการของคริสเตียนในวันอาทิตย์ ตามประวัติศาสตร์ วันอาทิตย์ ไม่ใช่วันเสาร์ คือวันประชุมตามปกติของคริสเตียนในคริสตจักร และการปฏิบัตินี้ยึดถือกันมาตั้งแต่สมัยศตวรรษแรก
วันสะบาโตเป็นวันที่ถูกกำหนดไว้สำหรับคนอิสราเอล วันสะบาโตยังคงเป็นวันเสาร์ ไม่ใช่วันอาทิตย์ และไม่เคยเปลี่ยนแปลงเลย แต่วันสะบาโตเป็นส่วนหนึ่งของธรรมบัญญัติในพันธสัญญาเดิม และคริสตเตียนเป็นอิสระแล้วจากพันธนาการแห่งธรรมบัญญัติ (กาลาเทีย 4:1-26; โรม 6:14) การรักษาวันสะบาโตไม่ได้เป็นข้อเรียกร้องสำหรับคริสเตียน ไม่ว่าจะเป็นวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ วันแรกของสัปดาห์ (วันอาทิตย์, วันขององค์พระผู้เป็นเจ้า) (วิวรณ์ 1:10) เป็นวันเฉลิมฉลองการทรงสร้างใหม่โดยมีพระคริสต์ทรงเป็นผู้นำที่ฟื้นคืนพระชนม์ เราไม่จำเป็นที่จะต้องยึดถือวันสะบาโตตามกฎของโมเสส (วันพักผ่อน) เพราะบัดนี้เราเป็นอิสระแล้วที่จะติดตามพระคริสต์ผู้ทรงฟื้นคืนพระชนม์ (ปรนิบัติ) อัครทูตเปาโลบอกว่าคริสเตียนแต่ละคนควรตัดสินใจว่าจะรักษาวันสะบาโตหรือไม่ “คนหนึ่งถือว่าวันหนึ่งดีกว่าอีกวันหนึ่ง แต่อีกคนหนึ่งถือว่าทุกวันเหมือนกัน ขอให้ทุกคนมีความแน่ใจในความคิดเห็นของตนเถิด” (โรม 14:5) เราสมควรที่จะนมัสการพระเจ้าทุกวัน ไม่ใช่เพียงแค่วันเสาร์หรือวันอาทิตย์เท่านั้น
--
http://www.gotquestions.org/Thai/Thai-Sabbath-day.html
ความยำเกรงพระยาห์เวห์เป็นจุดเริ่มต้นของความรู้ คนโง่ย่อมดูหมิ่นปัญญาและการสั่งสอน (สุภาษิต 1:7)
อย่าคิดว่าตนมีปัญญาจงยำเกรงพระยาห์เวห์ และจงหันจากความชั่วร้าย (สุภาษิต 3:5-7)
พระเจ้าทรงประสงค์ให้คริสเตียนรักษาวันสะบาโตหรือ?
พระเจ้าทรงประสงค์ให้คริสเตียนรักษาวันสะบาโตหรือ?
คำถาม: พระเจ้าทรงประสงค์ให้คริสเตียนรักษาวันสะบาโตหรือ?
คำตอบ: โคโลสี 2:16-17 “เหตุฉะนั้นอย่าให้ผู้ใดพิพากษาปรักปรำท่านในเรื่องการกิน การดื่ม ในเรื่องเทศกาล วันต้นเดือน หรือวันสะบาโต สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงเงาของเหตุการณ์ที่จะมีมาในภายหลัง แต่กายนั้นเป็นของพระคริสต์” โรม14:5 “คนหนึ่งถือว่าวันหนึ่งดีกว่าอีกวันหนึ่ง แต่อีกคนหนึ่งถือว่าทุกวันเหมือนกัน ขอให้ทุกคนมีความแน่ใจในความคิดเห็นของตนเถิด”
ข้อพระคัมภีร์เหล่านี้กล่าวอย่างชัดเจนว่า สำหรับคริสเตียน การรักษาวันสะบาโตเป็นเรื่องของเสรีภาพทางจิตวิญญาณ ไม่ได้เป็นคำสั่งจากพระเจ้า การรักษาวันสะบาโตเป็นเรื่องหนึ่งในพระวจนะของพระเจ้า สั่งสอนเราไม่ให้ตัดสินกันและกัน การรักษาวันสะบาโต เป็นเรื่องที่คริสเตียนแต่ละคนประจักษ์ชัดแน่ใจในความคิดของเขาหรือเธอเอง
ในบทแรกของหนังสือกิจการของอัครทูต คริสเตียนพวกแรกส่วนใหญ่เป็นชาวยิว
เมื่อคนต่างชาติเริ่มได้รับของประทานแห่งความรอดโดยพระเยซูคริสต์ คริสเตียนชาวยิวตกอยู่ในภาวะที่ลำบากใจอย่างยิ่ง คริสเตียนต่างชาติควรได้รับคำแนะนำให้เชื่อฟังด้านใด บัญญัติของโมเสสหรือประเพณีของชาวยิว อัครสาวกได้ประชุมกันและถกปัญหานี้ในสภากรุงเยรูซาเล็ม (กิจการ 15) กิจการ 15:19-20 “เหตุฉะนั้นตามความเห็นของข้าพเจ้า อย่าให้เราวางเครื่องขัดขวางกีดกันคนต่างชาติ ซึ่งกลับมาหาพระเจ้า แต่เราจงเขียนหนังสือฝากไปถึงเขาว่า ให้งดเว้นเสียจากสิ่งที่มลทินเนื่องด้วยรูปเคารพ จากการล่วงประเวณี จากการรับประทานเนื้อสัตว์ที่รัดคอตาย และจากการรับประทานเลือด”
การรักษาวันสะบาโตไม่ได้เป็นคำสั่งหนึ่งที่อัครสาวกรู้สึกว่าเป็นสิ่งจำเป็นในการบังคับผู้เชื่อที่เป็นชาวต่างชาติ มันยากที่จะเข้าใจว่าพวกอัครสาวกจะละเลยที่จะนับรวมเรื่องรักษาวันสะบาโตไว้ ถ้ามันเป็นคำสั่งของพระเจ้าสำหรับคริสเตียนที่จะรักษาวันสะบาโต
ข้อผิดพลาดร่วมกันในการถกเถียงเรื่องการรักษาวันสะบาโต คือความคิดที่ว่าวันสะบาโตเป็นวันนมัสการ กลุ่มเซเว่นเดย์แอดเวนติสท์ ถือว่าพระเจ้าทรงเรียกร้อง ให้คริสตจักรจัดนมัสการขึ้นในวันเสาร์คือวันสะบาโต นั่นไม่ใช่เป็นบัญญัติเรื่องวันสะบาโต บัญญัติเรื่องวันสะบาโตคือจะต้องไม่ทำงานใดๆ ในวันสะบาโต อพยพ 20:8-11 “จงระลึกถึงวันสะบาโต ถือเป็นวันบริสุทธิ์ จงทำการงานทั้งสิ้นของเจ้าหกวัน แต่วันที่เจ็ดนั้นเป็นสะบาโตของพระเจ้าของเจ้า ในวันนั้นอย่ากระทำการงาน ใดๆไม่ว่าเจ้าเอง หรือบุตรชายบุตรหญิงของเจ้า หรือทาสทาสีของเจ้า หรือสัตว์ใช้งานของเจ้า หรือแขกที่อาศัยอยู่ในประตูเมืองของเจ้า เพราะในหกวันพระเจ้าทรงสร้างฟ้าและแผ่นดิน ทะเล และสรรพสิ่งซึ่งมีอยู่ในที่เหล่านั้น แต่ในวันที่เจ็ดทรงพัก เพราะฉะนั้นพระเจ้าทรงอวยพระพรวันสะบาโต และทรงตั้งวันนั้นไว้เป็นวันบริสุทธิ์” ไม่พบข้อพระคัมภีร์ตรงไหนที่บัญญัติให้วันสะบาโตเป็นวันนมัสการ ใช่แล้ว ชาวยิวในพันธสัญญาเดิม พันธสัญญาใหม่ และยุคปัจจุบันใช้วันเสาร์เป็นวันนมัสการ แต่นั่นไม่ใช่สาระสำคัญของบัญญัติเรื่องวันสะบาโต
ในหนังสือกิจการของอัครทูต เมื่อใดก็ตามที่ประชุมจัดในวันสะบาโตนั้น มันเป็นการประชุมของชาวยิว ไม่ใช่ของคริสเตียน
เมื่อไหร่ที่คริสเตียนยุคแรกนัดประชุมกัน กิจการ 2:46-47 “เขาได้ร่วมใจกันไปในพระวิหาร และหักขนมปังตามบ้านของเขา ร่วมรับประทานอาหารด้วยความชื่นชมยินดีและใจกว้างขวาง ทุกวันเรื่อยไป ทั้งได้สรรเสริญพระเจ้าและคนทั้งปวงก็ชอบใจ ฝ่ายองค์พระผู้เป็นเจ้า ได้ทรงโปรดให้คนทั้งหลายซึ่งกำลังจะรอด มาเข้ากับพวกสาวกทุกวันๆ” ถ้ามีวันหนึ่งที่คริสเตียนมาประชุมเป็นประจำ ก็คือวันแรกของสัปดาห์ (วันอาทิตย์ของเรา) ไม่ใช่วันสะบาโต (วันเสาร์ของเรา)
Acts กิจการ 20:7 “ในวันอาทิตย์เมื่อเราทั้งหลายประชุมกันทำพิธีหักขนมปัง เปาโลก็กล่าวสั่งสอนเขา เพราะว่าวันรุ่งขึ้นจะลาไปจากเขาแล้ว ท่านได้กล่าวยืดยาวไปจนเที่ยงคืน”
1 Corinthians 1โครินธ์ 16:2 “ทุกวันต้นสัปดาห์ ให้พวกท่านทุกคนเก็บเงินผลประโยชน์ที่ได้รับไว้บ้าง เพื่อจะไม่ต้องเก็บเรี่ยไรเมื่อข้าพเจ้ามา” เพื่อระลึกถึงการฟื้นคืนพระชนม์ของพระคริสต์ในวันอาทิตย์ คริสเตียนยุคแรกไม่ได้รักษาวันอาทิตย์เป็น "วันสะบาโตของคริสเตียน" แต่เป็นวันนมัสการพระเยซูคริสต์โดยเฉพาะ
มีอะไรผิดในการนมัสการในวันเสาร์ซึ่งเป็นวันสะบาโตของชาวยิวหรือ ไม่มีอย่างแน่นอน เราควรนมัสการพระเจ้าทุกวัน ไม่เพียงแต่ในวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ คริสตจักรหลายแห่งทุกวันนี้มีทั้งการนมัสการในวันเสาร์และวันอาทิตย์ เรามีเสรีภาพในพระคริสต์ โรม 8:21 “ด้วยมีความหวังใจว่า สรรพสิ่งเหล่านั้นจะได้รอดจากอำนาจแห่งความเสื่อมสลาย และจะเข้าในเสรีภาพและศักดิ์ศรีแห่งบุตรทั้งหลายของพระเจ้า” 2โครินธ์ 3:17 “องค์พระผู้เป็นเจ้าทรงเป็นพระวิญญาณ และพระวิญญาณขององค์พระผู้เป็นเจ้าทรงอยู่ที่ไหน เสรีภาพก็มีอยู่ที่นั่น” กาลาเทีย 5:1 “เพื่อเสรีภาพนั้นเอง พระคริสต์จึงได้ทรงโปรดให้เราเป็นไท เหตุฉะนั้นจงตั้งมั่น และอย่าเข้าเทียมแอกเป็นทาสอีกเลย”
คริสเตียนควรรักษาวันสะบาโต นั่นคือไม่ทำงานทุกวันเสาร์หรือ ถ้าคริสเตียนรู้สึกว่าใจอยากทำเช่นนั้น ทำได้เลยแน่นอน โรม 14:5 “คนหนึ่งถือว่าวันหนึ่งดีกว่าอีกวันหนึ่ง แต่อีกคนหนึ่งถือว่าทุกวันเหมือนกัน ขอให้ทุกคนมีความแน่ใจในความคิดเห็นของตนเถิด” อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เลือกที่จะรักษาวันสะบาโตไม่ควรตัดสินผู้ที่ไม่ได้รักษาวันสะบาโต โคโลสี 2:16 “เหตุฉะนั้นอย่าให้ผู้ใดพิพากษาปรักปรำท่านในเรื่องการกิน การดื่ม ในเรื่องเทศกาล วันต้นเดือน หรือวันสะบาโต”
ยิ่งกว่านั้น ผู้ที่ไม่ได้รักษาวันสะบาโตควรหลีกเลี่ยงไม่ให้เป็นหินสะดุดแก่ผู้ที่ไม่รักษาวันสะบาโต
1โครินธ์ 8:9 “แต่จงระวังอย่าให้เสรีภาพของท่านนั้น ทำให้คนที่มีความเชื่อน้อยหลงผิดไป”
กาลาเทีย 5:13-15 “ดูก่อนพี่น้องทั้งหลาย ที่ทรงเรียกท่านก็เพื่อให้มีเสรีภาพ อย่าเอาเสรีภาพของท่านเป็นช่องทางที่จะปล่อยตัวไปตามเนื้อหนัง แต่จงรับใช้กันและกันด้วยความรักเถิด
เพราะว่าธรรมบัญญัติทั้งสิ้นนั้นสรุปได้เป็นคำเดียว คือว่า จงรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง
แต่ถ้าท่านกัดและกินเนื้อกันและกัน จงระวังให้ดี เกรงว่าจะย่อยยับไปตามๆกัน
--
http://www.gotquestions.org/Thai/Thai-Sabbath-keeping.html
คำถาม: พระเจ้าทรงประสงค์ให้คริสเตียนรักษาวันสะบาโตหรือ?
คำตอบ: โคโลสี 2:16-17 “เหตุฉะนั้นอย่าให้ผู้ใดพิพากษาปรักปรำท่านในเรื่องการกิน การดื่ม ในเรื่องเทศกาล วันต้นเดือน หรือวันสะบาโต สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงเงาของเหตุการณ์ที่จะมีมาในภายหลัง แต่กายนั้นเป็นของพระคริสต์” โรม14:5 “คนหนึ่งถือว่าวันหนึ่งดีกว่าอีกวันหนึ่ง แต่อีกคนหนึ่งถือว่าทุกวันเหมือนกัน ขอให้ทุกคนมีความแน่ใจในความคิดเห็นของตนเถิด”
ข้อพระคัมภีร์เหล่านี้กล่าวอย่างชัดเจนว่า สำหรับคริสเตียน การรักษาวันสะบาโตเป็นเรื่องของเสรีภาพทางจิตวิญญาณ ไม่ได้เป็นคำสั่งจากพระเจ้า การรักษาวันสะบาโตเป็นเรื่องหนึ่งในพระวจนะของพระเจ้า สั่งสอนเราไม่ให้ตัดสินกันและกัน การรักษาวันสะบาโต เป็นเรื่องที่คริสเตียนแต่ละคนประจักษ์ชัดแน่ใจในความคิดของเขาหรือเธอเอง
ในบทแรกของหนังสือกิจการของอัครทูต คริสเตียนพวกแรกส่วนใหญ่เป็นชาวยิว
เมื่อคนต่างชาติเริ่มได้รับของประทานแห่งความรอดโดยพระเยซูคริสต์ คริสเตียนชาวยิวตกอยู่ในภาวะที่ลำบากใจอย่างยิ่ง คริสเตียนต่างชาติควรได้รับคำแนะนำให้เชื่อฟังด้านใด บัญญัติของโมเสสหรือประเพณีของชาวยิว อัครสาวกได้ประชุมกันและถกปัญหานี้ในสภากรุงเยรูซาเล็ม (กิจการ 15) กิจการ 15:19-20 “เหตุฉะนั้นตามความเห็นของข้าพเจ้า อย่าให้เราวางเครื่องขัดขวางกีดกันคนต่างชาติ ซึ่งกลับมาหาพระเจ้า แต่เราจงเขียนหนังสือฝากไปถึงเขาว่า ให้งดเว้นเสียจากสิ่งที่มลทินเนื่องด้วยรูปเคารพ จากการล่วงประเวณี จากการรับประทานเนื้อสัตว์ที่รัดคอตาย และจากการรับประทานเลือด”
การรักษาวันสะบาโตไม่ได้เป็นคำสั่งหนึ่งที่อัครสาวกรู้สึกว่าเป็นสิ่งจำเป็นในการบังคับผู้เชื่อที่เป็นชาวต่างชาติ มันยากที่จะเข้าใจว่าพวกอัครสาวกจะละเลยที่จะนับรวมเรื่องรักษาวันสะบาโตไว้ ถ้ามันเป็นคำสั่งของพระเจ้าสำหรับคริสเตียนที่จะรักษาวันสะบาโต
ข้อผิดพลาดร่วมกันในการถกเถียงเรื่องการรักษาวันสะบาโต คือความคิดที่ว่าวันสะบาโตเป็นวันนมัสการ กลุ่มเซเว่นเดย์แอดเวนติสท์ ถือว่าพระเจ้าทรงเรียกร้อง ให้คริสตจักรจัดนมัสการขึ้นในวันเสาร์คือวันสะบาโต นั่นไม่ใช่เป็นบัญญัติเรื่องวันสะบาโต บัญญัติเรื่องวันสะบาโตคือจะต้องไม่ทำงานใดๆ ในวันสะบาโต อพยพ 20:8-11 “จงระลึกถึงวันสะบาโต ถือเป็นวันบริสุทธิ์ จงทำการงานทั้งสิ้นของเจ้าหกวัน แต่วันที่เจ็ดนั้นเป็นสะบาโตของพระเจ้าของเจ้า ในวันนั้นอย่ากระทำการงาน ใดๆไม่ว่าเจ้าเอง หรือบุตรชายบุตรหญิงของเจ้า หรือทาสทาสีของเจ้า หรือสัตว์ใช้งานของเจ้า หรือแขกที่อาศัยอยู่ในประตูเมืองของเจ้า เพราะในหกวันพระเจ้าทรงสร้างฟ้าและแผ่นดิน ทะเล และสรรพสิ่งซึ่งมีอยู่ในที่เหล่านั้น แต่ในวันที่เจ็ดทรงพัก เพราะฉะนั้นพระเจ้าทรงอวยพระพรวันสะบาโต และทรงตั้งวันนั้นไว้เป็นวันบริสุทธิ์” ไม่พบข้อพระคัมภีร์ตรงไหนที่บัญญัติให้วันสะบาโตเป็นวันนมัสการ ใช่แล้ว ชาวยิวในพันธสัญญาเดิม พันธสัญญาใหม่ และยุคปัจจุบันใช้วันเสาร์เป็นวันนมัสการ แต่นั่นไม่ใช่สาระสำคัญของบัญญัติเรื่องวันสะบาโต
ในหนังสือกิจการของอัครทูต เมื่อใดก็ตามที่ประชุมจัดในวันสะบาโตนั้น มันเป็นการประชุมของชาวยิว ไม่ใช่ของคริสเตียน
เมื่อไหร่ที่คริสเตียนยุคแรกนัดประชุมกัน กิจการ 2:46-47 “เขาได้ร่วมใจกันไปในพระวิหาร และหักขนมปังตามบ้านของเขา ร่วมรับประทานอาหารด้วยความชื่นชมยินดีและใจกว้างขวาง ทุกวันเรื่อยไป ทั้งได้สรรเสริญพระเจ้าและคนทั้งปวงก็ชอบใจ ฝ่ายองค์พระผู้เป็นเจ้า ได้ทรงโปรดให้คนทั้งหลายซึ่งกำลังจะรอด มาเข้ากับพวกสาวกทุกวันๆ” ถ้ามีวันหนึ่งที่คริสเตียนมาประชุมเป็นประจำ ก็คือวันแรกของสัปดาห์ (วันอาทิตย์ของเรา) ไม่ใช่วันสะบาโต (วันเสาร์ของเรา)
Acts กิจการ 20:7 “ในวันอาทิตย์เมื่อเราทั้งหลายประชุมกันทำพิธีหักขนมปัง เปาโลก็กล่าวสั่งสอนเขา เพราะว่าวันรุ่งขึ้นจะลาไปจากเขาแล้ว ท่านได้กล่าวยืดยาวไปจนเที่ยงคืน”
1 Corinthians 1โครินธ์ 16:2 “ทุกวันต้นสัปดาห์ ให้พวกท่านทุกคนเก็บเงินผลประโยชน์ที่ได้รับไว้บ้าง เพื่อจะไม่ต้องเก็บเรี่ยไรเมื่อข้าพเจ้ามา” เพื่อระลึกถึงการฟื้นคืนพระชนม์ของพระคริสต์ในวันอาทิตย์ คริสเตียนยุคแรกไม่ได้รักษาวันอาทิตย์เป็น "วันสะบาโตของคริสเตียน" แต่เป็นวันนมัสการพระเยซูคริสต์โดยเฉพาะ
มีอะไรผิดในการนมัสการในวันเสาร์ซึ่งเป็นวันสะบาโตของชาวยิวหรือ ไม่มีอย่างแน่นอน เราควรนมัสการพระเจ้าทุกวัน ไม่เพียงแต่ในวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ คริสตจักรหลายแห่งทุกวันนี้มีทั้งการนมัสการในวันเสาร์และวันอาทิตย์ เรามีเสรีภาพในพระคริสต์ โรม 8:21 “ด้วยมีความหวังใจว่า สรรพสิ่งเหล่านั้นจะได้รอดจากอำนาจแห่งความเสื่อมสลาย และจะเข้าในเสรีภาพและศักดิ์ศรีแห่งบุตรทั้งหลายของพระเจ้า” 2โครินธ์ 3:17 “องค์พระผู้เป็นเจ้าทรงเป็นพระวิญญาณ และพระวิญญาณขององค์พระผู้เป็นเจ้าทรงอยู่ที่ไหน เสรีภาพก็มีอยู่ที่นั่น” กาลาเทีย 5:1 “เพื่อเสรีภาพนั้นเอง พระคริสต์จึงได้ทรงโปรดให้เราเป็นไท เหตุฉะนั้นจงตั้งมั่น และอย่าเข้าเทียมแอกเป็นทาสอีกเลย”
คริสเตียนควรรักษาวันสะบาโต นั่นคือไม่ทำงานทุกวันเสาร์หรือ ถ้าคริสเตียนรู้สึกว่าใจอยากทำเช่นนั้น ทำได้เลยแน่นอน โรม 14:5 “คนหนึ่งถือว่าวันหนึ่งดีกว่าอีกวันหนึ่ง แต่อีกคนหนึ่งถือว่าทุกวันเหมือนกัน ขอให้ทุกคนมีความแน่ใจในความคิดเห็นของตนเถิด” อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เลือกที่จะรักษาวันสะบาโตไม่ควรตัดสินผู้ที่ไม่ได้รักษาวันสะบาโต โคโลสี 2:16 “เหตุฉะนั้นอย่าให้ผู้ใดพิพากษาปรักปรำท่านในเรื่องการกิน การดื่ม ในเรื่องเทศกาล วันต้นเดือน หรือวันสะบาโต”
ยิ่งกว่านั้น ผู้ที่ไม่ได้รักษาวันสะบาโตควรหลีกเลี่ยงไม่ให้เป็นหินสะดุดแก่ผู้ที่ไม่รักษาวันสะบาโต
1โครินธ์ 8:9 “แต่จงระวังอย่าให้เสรีภาพของท่านนั้น ทำให้คนที่มีความเชื่อน้อยหลงผิดไป”
กาลาเทีย 5:13-15 “ดูก่อนพี่น้องทั้งหลาย ที่ทรงเรียกท่านก็เพื่อให้มีเสรีภาพ อย่าเอาเสรีภาพของท่านเป็นช่องทางที่จะปล่อยตัวไปตามเนื้อหนัง แต่จงรับใช้กันและกันด้วยความรักเถิด
เพราะว่าธรรมบัญญัติทั้งสิ้นนั้นสรุปได้เป็นคำเดียว คือว่า จงรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง
แต่ถ้าท่านกัดและกินเนื้อกันและกัน จงระวังให้ดี เกรงว่าจะย่อยยับไปตามๆกัน
--
http://www.gotquestions.org/Thai/Thai-Sabbath-keeping.html
คำศัพท์คริสเตียน
ศัพท์คริสเตียน 1
1.
God= พระเจ้า
2.
Jesus Christ= พระเยซูคริสต์
3.
Holy Spirit = พระวิญญาณบริสุทธิ์
4.
The great commission = พระมหาบัญชา
5.
Mission = พันธกิจ
6.
Local church = คริสตจักรท้องถิ่น
7.
Authority = สิทธิอำนาจ
8.
Gospel = พระกิตติคุณ
9.
Praise = สรรเสริญ
10.
Worship = นมัสการ
11.
The will = น้ำพระทัยพระเจ้า
12.
Repent = การกลับใจ
13.
Water baptise = บัพติสมาในน้ำ
14.
Baptise in Holy Spirit = บัพติสมาในพระวิญญาณบริสุทธิ์
15.
Communion = มหาสนิท
16.
Evangelise = ประกาศพระกิตติคุณ
17.
Sunday services = รอบนมัสการวันอาทิตย์
18.
Fellowship = สามัคคีธรรม
19.
Testimony = คำพยาน
20.
Chairperson = พิธีกร
21.
Member = สมาชิก
22.
Temptation = การทดลอง
23.
Persecution = การข่มเหง
24.
Test = การทดสอบ
25.
Signs and Wonders = หมายสำคัญและการอัศจรรย์
26.
Apostle = อัครทูต
27.
Prophet = ผู้เผยพระวัจนะ
28.
Evangelists = ผู้ประกาศข่าวประเสริฐ
29.
Pastors = ศิษยาภิบาล
30.
Teachers = อาจารย์
31.
Shepherd = พี่เลี้ยง
32.
Sheep = ลูกแกะ
33.
Mercy = ความเมตตา
34.
Forgiveness = การให้อภัย
35.
Kindness = ความกรุณา
36.
Generous= ใจกว้าง
37.
Sacrifice = เสียสละ
38.
Faithfulness = สัตย์ซื่อ
39.
Righteousness = ชอบธรรม
40.
Unrighteousness = ไม่ชอบธรรม
41.
Commit = ผูกพัน
42.
Honest = ซื่อสัตย์
43.
Honor = ชื่อเสียงเกียรติยศ
44.
Believer = ผู้เชื่อ
45.
Non believer = ผู้ไม่เชื่อ
46.
Discern = วินิฉัย
47.
Edify = เสริมสร้าง
48.
Attitude = ท่าที
49.
Value = ค่านิยม
50.
Humble = ถ่อมใจ
51.
Pride = ความหยยื่ง
52.
Patience = ความอดทน
53.
Faith = ความเชื่อ
54.
Fruit of Holy Spirit = ผลของพระวิญญาณ
55.
Joy = ความปิติยินดี
56.
Peace = สันติสุข
57.
Goodness = ความดี
58.
Gentieness = ความสุภาพ
59.
Self-control = การบังคับตน
60.
Obedience = การเชื่อฟัง
61.
Purpose = วัตถุประสงค์
62.
Devotion = เฝ้าเดี่ยว
63.
1 on 1 = 1ต่อ1
64.
Pray = อธิษฐาน
65.
Expository = เทศนาอรรถธิบาย
66.
Balance = สมดุล
67.
Spiritual gift = ของประทานฝ่ายวิญญาณ
68.
Message of wisdom = ถ้อยคำประกอบด้วยสติปัญญา
69.
Message of knowledge = ถ้อยคำประกอบด้วยความรู้
70.
Gift of healing = วางมือรักษาโรค
71.
Miraculous power= ทำการอัศจรรย์
72.
Prophecy= การเผยพระวจนะ
73.
Distinguishing between spirits = สังเกตุวิญญาณ
74.
Speaking in different kinds of tongues = การพูดภาษาแปลกๆ
75.
Interpretation of tongues = การแปลภาษานั้นๆ
76.
Envy = อิจฉา
77.
Boast = อวดตัว
78.
Rude = หยาบคาย
79.
self-seeking = คิดเห็นแก่ตัว
80.
Perseveres = อดทนนาน
81.
Yoke = เทียมแอก
82.
Discipline = ระเบียบวินัย
83.
Disciples = สาวก
84.
Old Testament = พระคัมภีร์เดิม
85.
New Testament = พระคัมภีร์ใหม่
86.
Declare = ประกาศ แจ้ง
87.
Steadfast love = ความรักมั่นคง
88.
Promise = พระสัญญา
89.
Covenant = พันธสัญญา
90.
Guard the heart= รักษาใจ
91.
Examine = ตรวจสอบ
92.
Bear fruit = เกิดผล
93.
Wisdom = สติปัญญา
94.
Memorial of blessing = อนุสรณ์พระพร
95.
Purify = ชำระล้าง
96.
Revival = ฟื้นฟู
97.
Miracle = การอัศจรรย์
98.
Motivation = ตัวกระตุ้น
99.
The Kingdom of God = อาณาจักรพระเจ้า
100.
Heaven = สวรรค์
101.
Earth = โลก
102.
Angle = ทูตสวรรค์
103.
Forsake = ละทิ้ง
104.
Sovereign = เอกราช
105.
Bitter root = รากขมขื่น
106.
Jealous = อิจฉาริษยา
107.
Scripture ข้อพระคัมภีร์
108.
Pioneer = บุกเบิก
109.
Passion = ความปราถนาอย่างแรงกล้า
110.
Imitate = เอาอย่าง
111.
Demonstrate = แสดงให้เห็น
112.
Relationship = ความสัมพันธ์
113.
Sorrow = ความเศร้า
114.
Follow = ติดตาม
115.
Spiritual Warfare = สงครามฝ่ายวิญญาณ
116.
Reap = เก็บเกี่ยว
117.
Sow = หว่าน
118.
Serve = รับใช้
119.
Armor = ยุทธภัณฑ์
120.
Flesh = เนื้อหนัง
121.
Belt of truth = เข็มขัดแห่งความจริง
122.
Helmet of salvation = หมวกแห่งความเชื่อ
123.
Salvation = ความรอด
124.
Redeemer = พระผู้ไถ่
125.
Savior = ผู้ช่วยเหลือ
126.
Heal = เยียวยารักษา
127.
Focus on = จดจ่อ
128.
Fasting = อดอาหารอธิฐาน
129.
Blessing = การอวยพร
130.
Tith = สิบลด
131.
Burden = ภาระ
132.
Glory = พระสิริ
133.
Grace = พระคุณ
ศัพท์คริสเตียน 2
God
พระเจ้า
Jesus
Christ พระเยซูคริสต์
Holy
Spirit พระวิญญาณบริสุทธิ์
Gospel
ข่าวประเสริฐ, พระกิตติคุณ
mission
พันธกิจ
local
church คริสตจักรท้องถิ่น
authority
สิทธิอำนาจ
praise
สรรเสริญ
worship
นมัสการ
the
will น้ำพระทัย
repent
กลับใจ
water
baptise บัพติศมาในน้ำ
baptise
in Holy Spirit บัพติศมาในพระวิญญาณบริสุทธิ์
communion
มหาสนิท
evangelise
ประกาศพระกิตติคุณ
evangelist
ผู้ประกาศข่าวประเสริฐ
Sunday
service รอบนมัสการวันอาทิตย์
fellowship
สามัคคีธรรม
testimony
คำพยาน
temptation
การทดลอง
persecution
การข่มเหง
test
การทดสอบ
signs
and wonders หมายสำคัญและการอัศจรรย์
apostle
อัครฑูต
prophet
ผู้เผยพระวจนะ
pastor
ศิษยาภิบาล
teacher
อาจารย์
shepherd
พี่เลี้ยง
sheep
ลูกแกะ
believer
ผู้เชื่อ
non
believer ผู้ไม่เชื่อ
disciple
สาวก
Redeemer
พระผู้ไถ่
Savior
พระผู้ช่วย
mercy
ความเมตตา
forgiveness
การให้อภัย
kindness
ความกรุณา
generous
ใจกว้าง
sacrifice
เสียสละ
faithfulness
สัตย์ซื่อ
righteousness
ชอบธรรม
unrighteousness
ไม่ชอบธรรม
commit
ผูกพันตัว
honest
ซื่อสัตย์
honor
ชื่อเสียงเกียรติยศ
believer
ผู้เชื่อ
non
believer ผู้ไม่เชื่อ
discern
วินิจฉัย
edify
เสริมสร้าง
attitude
ท่าที
value
ค่านิยม
humble
ถ่อมใจ
pride
ความหยิ่ง
patience
ความอดทน
faith
ความเชื่อ
fruit
of Holy Spirit ผลพระวิญญาณ
joy
ความปีติยินดี
peace
สันติสุข
goodness
ความดี
gentleness
ความสุภาพ
self-control
การบังคับตน
obedience
การเชื่อฟัง
purpose
วัตถุประสงค์
devotion
เฝ้าเดี่ยว
one
on one 1 ต่อ 1
pray
อธิษฐาน
expository
เทศนาอรรถธิบาย
balance
สมดุล
spiritual
gift ของประทานฝ่ายวิญญาณ
message
of wisdom ถ้อยคำประกอบด้วยสติปัญญา
message
of knowledge ถ้อยคำประกอบด้วยความรู้
gift
of healing ของประทานรักษาโรค
miraculous
power ทำการอัศจรรย์
prophecy
การเผยพระวจนะ
distinguishing
between spirits สังเกตุวิญญาณ
speaking
in different kinds of tongues การพูดภาษาแปลกๆ
interpretation
of tongues การแปลภาษานั้นๆ
envy
อิจฉา
boast
อวดตัว
rude
หยาบคาย
self-seeking
คิดเห็นแก่ตัว
persevere
อดทนนาน (อุตสาหะ)
yoke
เทียมแอก
discipline
ระเบียบวินัย
disciple
สาวก
ฺBible
พระคริสตธรรมคัมภีร์
Old
Testament ภาคพันธสัญญาเดิม
New
Testament ภาคพันธสัญญาใหม่
proclaim
ประกาศ
steadfast
love ความรักมั่นคง
promise
สัญญา
guard
the heart รักษาใจ
examine
ตรวจสอบ
bear
fruit เกิดผล
wisdom
สติปัญญา
memorial
of blessing อนุสรณ์พระพร
purify
ชำระล้าง
revival
การฟื้นฟู
miracle
การอัศจรรย์
the
kingdom of God อาณาจักรพระเจ้า
heaven
สวรรค์
earth
โลก
angel
ฑูตสวรรค์
forsake
ละทิ้ง
bitter
root รากขมขื่น
jealous
อิจฉาริษยา
scripture
ข้อพระคัมภีร์
pioneer
บุกเบิก
passion
ความปรารถนาอย่างแรงกล้า
imitate
เอาอย่าง
demonstrate
แสดงให้เห็น
relationship
ความสัมพันธ์
Sorrow
ความเศร้า
Follow
ติดตาม
spiritual
warfare สงครามฝ่ายวิญญาณ
reap
เก็บเกี่ยว
sow
หว่าน
serve
รับใช้
armor
ยุทธภัณฑ์
belt
of truth เข็มขัดแห่งความจริง
helmet
of salvation หมวกแห่งความรอด
salvation
ความรอด
Redeemer
พระผู้ไถ่
Savior
พระผู้ช่วยให้รอด
heal
เยียวยารักษา
focus
on จดจ่อ
fasting
อดอาหารอธิษฐาน
blessing
การอวยพร
altar
แท่นบูชา
tithe
สิบลด
burden
ภาระ
glory
พระสิริ
grace
พระคุณ
liturgical
order ลำดับการนมัสการ (ในสูจิบัตร)
give
offering ถวายทรัพย์
altar
call เรียกให้รับเชื่อ (เดินออกมาที่แท่น/ยกมือรับ)
encourage
หนุนใจ
strengthen
เสริมกำลัง
anoint
เจิม
fruitful
เกิดผล
confess
สารภาพ
sin
บาป
sinner
คนบาป
praise
สรรเสริญ
rejoice
ชื่นชมยินดี
pastor
ศิษยาภิบาล
preach
เทศนา
teach
สอน
church
คริสตจักร
Holy
บริสุทธิ์ ศักดิ์สิทธิ์
eternity
นิจนิรันดร์
Lord
จอมเจ้านาย
mighty
ทรงฤทธิ์
cross
ไม้กางเขน
grave
หลุมฝังศพ
loyalty
รักภักดี
steadfast
หนักแน่นมั่นคง
seek
แสวงหา
attribute
พระลักษณะ
faithful
สัตย์ซื่อ
compassion
ความเมตตา
immutable
ไม่เปลี่ยนแปลง
reveal
เผย
covenant
พันธสัญญา
forbid
ห้าม
command
คำสั่ง
change
เปลี่ยน
expect
คาดหวัง
obey
เชื่อฟัง
respect
เคารพ
support
สนับสนุน
leader
ผู้นำ
care
ใส่ใจ, เอาใจใส่
forgive
อภัย
surrender
ยอมจำนน
authority
สิทธิอำนาจ
right
สิทธิ์
duty
หน้าที่
righteous
ชอบธรรม
pray
อธิษฐาน
difficulty
ความยากลำบาก
persecution
การข่มเหง
temptation
การทดลอง
test
การทดสอบ
warn
เตือน, เตือนสติ
betray
ทรยศ
perfect
สมบูรณ์แบบ
submit
นบนอบ
mission
พันธกิจ
communication
การสื่อสาร
vertical
แนวดิ่ง
horizontal
แนวราบ
capable
มีความสามารถ
trustworthy
ไว้วางใจได้
just
ยุติธรรม, เป็นธรรม
judge
ตัดสิน, พิพากษา
pastor
ศิษยาภิบาล
preach
เทศนา
teach
สอน
church
คริสตจักร
Holy
บริสุทธิ์ ศักดิ์สิทธิ์
eternity
นิจนิรันดร์
presence
การทรงสถิต
present
สถิต
Lord
จอมเจ้านาย
mighty
ทรงฤทธิ์
cross
ไม้กางเขน
grave
หลุมฝังศพ
seek
แสวงหา
synergy
การประสานศักยภาพ
Trinity
ตรีเอกานุภาพ
oneness
ความเป็นหนึ่ง/น้ำหนึ่งใจเดียวกัน
plurality
ความเป็นพหุบุคคล
equality
ความเท่าเทียมกัน
goal
เป้าหมาย
creation
การทรงสร้าง
tribe
เผ่า
diversity
ความหลากหลาย
harmony
การปรองดอง
effective
ประสิทธิผล
personality
บุคลิกภาพ
calling
การทรงเรียก
role
บทบาท
responsibility
ความรับผิดชอบ
resouce
ทรัพยากร
unity
เอกภาพ
contention
การแก่งแย่งแช่งดี
mutual
ซึ่งกันและกัน
effort
มานะพยายาม
joint
effort ผนึกกำลังกัน
extract
สะกัด
strength
จุดแข็ง
party
ฝ่าย/พวก/พรรค
efficiency
ประสิทธิภาพ
variety
ความหลากหลาย
draw
นำมา/ดึงเข้ามา
complement
ส่วนประกอบ
complete
เติมเต็ม/ทำให้ครบ
completeness
ความสมบูรณ์
stability
เสถียรภาพ
bond
ผูกพันไว้ด้วยกัน
multiple
ทวีคูณ
support
สนับสนุน
enlarge
ขยาย
capability
ความสามารถ
alternative
ทางเลือก
productivity
ผลิตภาพ/ผลิตผล
nourishing
บำรุงเลี้ยง
prevent
ป้องกัน
loneliness
ความรู้สึกโดดเดี่ยว
allow
อนุญาต/เปิดโอกาส/ยอมให้
belonging
ความเป็นเจ้าของ
generate
ก่อให้เกิด
security
ความปลอดภัย
confidence
ความมั่นใจ
movement
การเคลื่อนไหว/ขบวนการ
independent
อิสระ
denomination
นิกาย
parachurch
องค์กรที่สนับสนุนงานคริสตจักร
evangelistic
ministry กลุ่มงานประกาศ
discipleship
ministry กลุ่มงานสร้างสาวก
welfare
ministry กลุ่มงานสังคมสงเคราะห์
youth
ministry กลุ่มงานเยาวชน
education
ministry กลุ่มงานการศึกษา
publication
ministry กลุ่มงานสิ่งพิมพ์
agency
ministry กลุ่มงานพันธกิจ
agent
ตัวแทน
principle
หลักการ
core
value ค่านิยมหลัก
common
doctrine หลักข้อเชื่อ
foundation
รากฐาน
flexibility
ความยืดหยุ่น
balancing
สมดุล
centralization
การรวมอำนาจ
decentralization
การกระจายอำนาจ
tradition
ธรรมเนียมประเพณี
context
บริบท
isolation
อิสระ/โดดเดี่ยว/ปลีกตัว
cover
ปกคลุม
corporate-minded
จิตใจที่เห็นแก่ส่วนรวม
public
mind จิตสาธารณะ
success
สำเร็จ/ความสำเร็จ
future
อนาคต
determine
กำหนด
broadminded
ใจกว้าง
difference
ความแตกต่าง
background
ภูมิหลัง
approach
วิธีการ/เข้าไปใกล้
feedback
ผลตอบรับ
willingness
ความเต็มใจ
task
หน้าที่/ภารกิจ
unfamiliar
ไม่คุ้นเคย
uncomfortable
ไม่สะดวกสบาย/ไม่สะดวกใจ
adaptability
ความสามารถในการปรับตัว
determination
ความมุ่งมั่น
conflict
ปัญหาความขัดแย้ง
mobilize
ขับเคลื่อน
challenge
ท้าทาย
motivation
เครื่องกระตุ้น/แรงจูงใจ
progress
ก้าวหน้า
reward
รางวัล
eternal
reward บำเหน็จรางวัลนิรันดร์
remind
เตือนให้ระลึกถึง
database
ฐานข้อมูล
member
สมาชิก
assessment
แบบประเมิณ
aptitude
ความถนัด
priority
ลำดับความสำคัญ
specialize
มีความชำนาญเป็นพิเศษ
supervise
ดูแลกำกับงาน
instruct
สอน/แนะนำ/ให้ความรู้
coaching
สอน/ฝึกหัด
commend
กล่าวชมเชย
assure
รับรอง/ประกัน
benefit
ผลประโยชน์/ผลดี
divine
ของพระเจ้า/มาจากสวรรค์(พระเจ้า)
authority
สิทธิอำนาจ
supernatural
เกินธรรมชาิติ
outcome
ผลลัพธ์
protection
การปกป้อง
favour
โปรดปราน
God's
plan แผนการของพระเจ้า
God's
will น้ำพระทัยพระเจ้า
God's
way วิธีการของพระเจ้า
God's
power ฤทธิ์เดชของพระเจ้า
being
led by the Holy Spirit รับการทรงนำจากพระวิญญาณบริสุทธิ์
**********************
แหล่งข้อมูล
แหล่งข้อมูล
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)